1 / 72

Syllogism: การอ้างเหตุผลด้วยประพจน์จัดประเภท

บทที่ ๔. Syllogism: การอ้างเหตุผลด้วยประพจน์จัดประเภท. การใช้เหตุผล วิธีการแสวงหาความรู้ของมนุษย์. 1. วิธี การใช้เหตุผลของมนุษย์ดึกดำบรรพ์ (สงสัย + เชื่อ) 2. วิธี การใช้เหตุผลของมนุษย์ในโลกตะวันตก (สังเกต + คิด) 3. วิธี การใช้เหตุผลของมนุษย์ในโลกตะวันออก (เชื่อ + วิจัย)

deo
Download Presentation

Syllogism: การอ้างเหตุผลด้วยประพจน์จัดประเภท

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ ๔ Syllogism: การอ้างเหตุผลด้วยประพจน์จัดประเภท

  2. การใช้เหตุผลวิธีการแสวงหาความรู้ของมนุษย์การใช้เหตุผลวิธีการแสวงหาความรู้ของมนุษย์ 1. วิธีการใช้เหตุผลของมนุษย์ดึกดำบรรพ์ (สงสัย + เชื่อ) 2. วิธีการใช้เหตุผลของมนุษย์ในโลกตะวันตก (สังเกต + คิด) 3. วิธีการใช้เหตุผลของมนุษย์ในโลกตะวันออก (เชื่อ + วิจัย) 4. วิธีการใช้เหตุผลของมนุษย์ในโลกปัจจุบัน (สังเกต + วิจัย )

  3. วิธีการใช้เหตุผลของมนุษย์ดึกดำบรรพ์วิธีการใช้เหตุผลของมนุษย์ดึกดำบรรพ์ ความรู้ของมนุษย์เริ่มต้นขึ้นจากการรู้จักใช้และพัฒนาสิ่งต่างๆ รอบตัวมาเป็นเครื่องมือช่วยในการดำรงชีวิต - เครื่องมือในการแสวงหาความรู้ของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์มีด้วยกัน 3 ประการ คือ 1. ประสาทสัมผัส 2. เหตุผล 3. จินตนาการ

  4. วิธีการใช้เหตุผลในโลกตะวันตกยุคโบราณวิธีการใช้เหตุผลในโลกตะวันตกยุคโบราณ - วิธีการใช้เหตุผลที่สำคัญในยุคนี้ก็คือ “นิรนัย” ซึ่งอริสโตเติลเป็นคนแรกที่ได้พัฒนาขึ้นอย่างเป็นระบบ จนกระทั้งเกิดเป็นวิชาตรรกศาสตร์(Logic) - อริสโตเติล เรียกวิธีการใช้เหตุผลแบบนิรนัยที่ได้พัฒนาขึ้นนี้ว่า “ซิลลอจิสม์”(Syllogism) ซึ่งอริสโตเติลเองถือว่าเป็นรากฐานของการอ้างเหตุผลทั้งหมด

  5. การอ้างเหตุผล แบบซิลลอจิสม์ ข้ออ้าง 1 : โลหะทั้งหมด เป็น สื่อไฟฟ้า ข้ออ้าง 2 : เหล็ก เป็น โลหะ ข้อสรุป : เหล็ก เป็น สื่อไฟฟ้า

  6. วิธีการใช้เหตุผลแบบนิรนัยวิธีการใช้เหตุผลแบบนิรนัย ซิลลอจิสม์ ประโยคตรรกวิทยา การอ้างเหตุผล เทอม อาศัยเทอมกลาง นำเทอมที่ยังไม่ได้ ตัดสิน 2 ครั้ง มาตัดสินในข้อสรุป มี 3 ประโยค ตรรกวิทยา 3 เทอม ทุกเทอม ใช้ 2 ครั้ง

  7. การใช้เหตุผล เนื้อหา (ข้อเท็จจริง) รูปแบบ -นิรนัย -อุปนัย ความสมเหตุสมผล /ความน่าเชื่อถือ ความสมเหตุสมผล /ความน่าเชื่อถือ ความเป็นไปได้ /ความน่าเชื่อถือ

  8. การอนุมานโดยอ้อม บทที่4:Syllogism: การอ้างเหตุผลด้วยประพจน์จัดประเภท คิดฮอดแต่กอดบ่ได้ http://www.youtube.com/watch?v=hFWsM2GpK3s&feature=related

  9. การอนุมานโดยอ้อม ข้อสรุปมาจากการใช้เทอม 3 เทอมเปรียบเทียบกันหรือใช้ 2 ประโยค(ข้ออ้าง)เปรียบเทียบกัน แล้วได้มาซึ่งข้อสรุป • จะต้องใช้ เทอมกลาง เชื่อมเทอมโทและเทอมเอก • เรียกว่า ซิลลอจิสม์ (Syllogism) • ความน่าเชื่อถือพิสูจน์ด้วยกฎความสมเหตุสมผล สมเหตุสมผลหรือไม่สมเหตุสมผล?

  10. การอนุมานโดยอ้อม 3 ชนิด ก. ซิลลอจิสม์ (การอนุมานเต็มช่วงความคิด) เอนธีม (การอนุมานย่อช่วงความคิด) ข. แบบโซริเตส(การอนุมานเชื่อมต่อช่วงความคิด) ค. 3 แบบคือรูปของ Syllogism

  11. ก. ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญมาตรา30 ที่กำหนดให้บุคคลเสมอภาคกันในกฎหมายและห้ามเลือกปฏิบัติเพราะเหตุแห่งความแตกต่างในเรื่อง กำเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพร่างกาย หรือสุขภาพ ฯลฯ ข. มาตรการของตำรวจที่ห้ามเยาวชนออกนอกบ้านหลัง 4 ทุ่มไม่เป็นไปกับ(ขัด)รัฐธรรมนูญมาตราที่ 30 ค. ดังนั้น มาตรการนี้(ขัด)ไม่เป็นไปตามรัฐธรรมนูญมาตราที่30 สมเหตุสมผลหรือไม่? ประโยค ก. เป็นข้ออ้างเอก / ประโยคเหตุใหญ่ (Major Premise) ประโยค ข. เป็นข้ออ้างโท / ประโยคเหตุเล็ก (Minor Premise) ประโยค ค. เป็นข้อสรุป (Conclusion)

  12. ซิลลอจิสม์ (Syllogism) ข้ออ้าง (1) พระอาทิตย์ (ทุกดวง) เป็นดาวฤกษ์ (ข้ออ้างโท) = ( มี ๒เทอม/ประโยค A) (เทอมกลาง) ข้ออ้าง (2) ดาวที่มีสิ่งชีวิตอาศัยอยู่ (บางดวง) ไม่เป็น ดาวฤกษ์ (ข้ออ้างเอก) = ( มี ๒ เทอม/ประโยค O ) ข้อสรุป (3) พระอาทิตย์ (ทุกดวง)ไม่เป็น ดาวที่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ ดาวที่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ = (มี ๒ เทอม/ประโยค E) (เทอมเอก) (เทอมโท)

  13. การพิสูจน์การใช้เหตุผลการพิสูจน์การใช้เหตุผล และการอ้างเหตุผลนิรนัย ด้วยกฎ 5 ข้อ คำของ ปราชญ์รุสโซ “Man is born free but everywhere he is in chain : คนเราเกิดมาเสรี แต่ทุกหนทุกแห่งเขาก็อยู่ในโซ่ตรวน”

  14. การพิสูจน์การใช้เหตุผลและการอ้างเหตุผลนิรนัย ด้วยกฎ 5 ข้อ เมื่อมนุษย์เราเริ่มคิดเปรียบเทียบหาข้อสรุปหรือความรู้ซึ่งยังคงอยู่ในความคิด เหตุผลต่าง ๆ ก็จะวนเวียนอยู่ในสมองเราเรียกอาการนั้นว่า ตัวอย่างเช่น “เมื่อการฆ่ามนุษย์เป็นบาป ดังนั้น การทำแท้งก็เป็นบาปเพราะว่าการทำแท้งก็คือการกำจัดชีวิตมนุษย์” เราสามารถแสดงเหตุผลให้ผู้อื่นทราบได้โดยใช้สื่อกลางที่ตกลงกันไว้ ตรรกวิทยา เรียกการใช้เหตุผลที่แสดงออกมาว่า “การใช้เหตุผล” “การอ้างเหตุผล”

  15. วิเคราะห์การอ้างเหตุผลด้วยกฎเกณฑ์นิรนัยวิเคราะห์การอ้างเหตุผลด้วยกฎเกณฑ์นิรนัย (จากตัวอย่างที่กล่าว) การอ้างเหตุผลครั้งหนึ่ง ๆ จะต้องประกอบไปด้วยประโยค 3 ประโยคเสมอและมาจาก 3 เทอม เช่น... 1. การฆ่ามนุษย์(๑) เป็นบาป(๒) 2. การทำแท้ง(๓) เป็นการฆ่ามนุษย์(๑) (การกำจัดชีวิตมนุษย์) 3. เพราะฉะนั้น การทำแท้ง(๓)เป็นบาป(๒) ข้อความที่ 1 , 2 เป็นข้ออ้าง (Premise) ข้อความที่ 3 เป็นข้อสรุป (Conclusion) (ข้อความเหตุผลต้องมี ๓ เทอมเชื่อมสัมพันธ์กัน)

  16. (Logic of Terms) โครงสร้างSyllogisim ๑.เทอม (Term) ๒.ประโยคตรรก (Proposition) - ใช้ 3 เทอม ๆ ละ 2 ครั้ง * ใช้ 3 ประโยค - เทอมกระจาย / เทอมไม่กระจาย * ประโยค A, E, I, O ๓.การใช้เหตุผล (Reasoning) กฎ 5 ข้อวิเคราะห์ความสมเหตุสมผล

  17. 1. การฆ่ามนุษย์(๑) เป็นบาป(๒) • การทำแท้ง(๓) เป็นการฆ่ามนุษย์(๑) • เพราะฉะนั้น การทำแท้ง(๓)เป็นบาป(๒) กฎการพิสูจน์ความสมเหตุสมผลของการอ้างเหตุผลแบบนิรนัยประเภทช่วงความคิด (Syllogism) (การกำจัดชีวิตมนุษย์) กฎข้อที่ 1 การอ้างเหตุผลครั้งหนึ่งต้องมี 3 เทอม (แต่ละเทอมใช้ 2 ครั้ง) การอ้างที่ผิดกฎข้อที่ 1. Ex.คนทุกคนคือคน ลิงทุกตัวคือลิง ดังนั้นคนไม่ใช่ลิง

  18. การอ้างที่ผิดกฎข้อที่ 2. Ex. นักศึกษา ม.กท.บางคนเป็นคนฉลาด เยาวชนบางคนเป็นนักศึกษา ม.กท. . . .เยาวชนบางคนเป็นคนฉลาด กฎข้อที่ 2เทอมกลางต้องมีความหมายกระจายอย่างน้อย 1 ครั้ง เทอมที่ใช้ซ้ำกัน 2 ครั้ง ในข้ออ้างเรียกว่า เทอมกลาง

  19. 1. การฆ่ามนุษย์(๑) เป็นบาป(๒) • การทำแท้ง(๓)ไม่เป็นการฆ่ามนุษย์(๑) • เพราะฉะนั้น การทำแท้ง(๓)ไม่เป็นบาป(๒) • 1. การฆ่ามนุษย์(๑) ไม่เป็นบาป(๒) • การทำแท้ง(๓)ไม่เป็นการฆ่ามนุษย์(๑) • เพราะฉะนั้น การทำแท้ง(๓)ไม่เป็นบาป(๒) • 1. การฆ่ามนุษย์(๑) เป็นบาป(๒) • การทำแท้ง(๓)เป็นการฆ่ามนุษย์(๑) • เพราะฉะนั้น การทำแท้ง(๓) เป็นบาป(๒) กฎข้อที่ 3 เทอมที่เป็นเทอมกระจายในข้อสรุป ต้องเป็นเทอมที่กระจายในข้ออ้างมาก่อน กฎข้อที่ 4 การอ้างเหตุผลครั้งหนึ่งข้ออ้างจะปฏิเสธหมดทั้ง 2 ข้อไม่ได้ (มีได้เพียงข้อเดียว) กฎข้อที่ 5 ถ้ามีข้ออ้างข้อปฏิเสธข้อสรุปต้องเป็นประโยคปฏิเสธด้วย(ไม่ขัดแย้ง)

  20. การอ้างผิดกฎข้อที่ 4. Ex. 1) ปลาวาฬไม่ใช่ปลา ปลาไม่ใช่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม . . . ปลาวาฬเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม การอ้างตามกฏข้อที่4และ5. Ex. 2) ปลาวาฬเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมไม่เป็นปลา . . . ปลาวาฬไม่เป็นปลา

  21. ความน่าเชื่อถือของการอ้างแบบนิรนัยขึ้นอยู่กับการวิเคราะห์ ๒ ประเด็นคือ 1. ความจริง / เท็จของข้ออ้างข้อสรุป และ 2. ความสมเหตุสมผลของวิธีการอ้างเหตุผล (ผ่านกฎ 5 ข้อ) Ex. -คนขาดเรียนไม่ใช่คนดี คุณไม่ขาดเรียน ดังนั้นคุณย่อมเป็นคนดี -แดงเป็นคนที่มองโลกในแง่ร้าย ดำไม่เหมือนแดง ฉะนั้นดำไม่ใช่คนที่มองโลกในแง่ร้าย -จิตกับสมองไม่เหมือนกันเพราะว่าสมองเป็นสสารแต่จิตไม่ใช่สสาร

  22. การวิเคราะห์ความสมเหตุสมผลและความน่าเชื่อถือรูปแบบช่วงความคิด ๑.เหตุผิด - ผลผิด - สมเหตุผล ไม่น่าเชื่อถือ 1. คนทุกตัว เป็นสัตว์สองขา 2. สัตว์สองขาทุกชนิด เป็นสัตว์มีปีก . . . คนทุกตัว เป็นสัตว์ปีก ๒.เหตุถูก - ผลถูก - สมเหตุผล น่าเชื่อถือ นายกรัฐมนตรีทุกคนเป็นหัวหน้าคณะรัฐมนตรี นักการเมืองบางคนเป็นนายกรัฐมนตรี . . . นักการเมืองบางคนเป็นหัวหน้าคณะรัฐมนตรี

  23. (ความสมเหตุสมผลไม่ได้การันตีว่าข้อสรุปถูกต้องเสมอไป)(ความสมเหตุสมผลไม่ได้การันตีว่าข้อสรุปถูกต้องเสมอไป) ๓.เหตุผิด - ผลถูก - สมเหตุผล ไม่น่าเชื่อถือ 1. มนุษย์ทุกคน เป็นพืช 2. ต้นไม้ทุกชนิด เป็นมนุษย์ . . . ต้นไม้ทุกชนิด เป็นพืช ๔.เหตุถูก - ผลผิด - ไม่สมเหตุผล ไม่น่าเชื่อถือ 1. อาทิกา เป็นคน 2. ธัญลักษณ์ ไม่เป็นอาทิกา . . . ธัญลักษณ์ ไม่เป็นคน

  24. ความสมเหตุสมผลของความคิดกับความจริงความสมเหตุสมผลของความคิดกับความจริง 1. ขโมยทุกคน เป็น ผู้มีความรู้ดี 2. นักศึกษาทุกคน เป็น ขโมย 3. ... นักศึกษาทุกคน เป็น ผู้มีความรู้ดี 1. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกตัว เป็น สัตว์ 2. ปลาวาฬทุกตัว เป็น สัตว์ 3. ... ปลาวาฬทุกตัว เป็น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สมเหตุสมผล ข้ออ้างเท็จ ข้อสรุปจริง ไม่สมเหตุสมผล ข้ออ้างจริง ข้อสรุปจริง

  25. 1. คนทุกคนเป็นคน 2. ลิงทุกตัวเป็นลิง 3. ... คนไม่ใช่ลิง 1. รูปสามเหลี่ยมทุกรูป เป็นรูปที่มี 3 ด้าน 2. รูปสี่เหลี่ยมทุกรูป เป็นรูปที่มี 4 ด้าน 3. ... รูปสามเหลี่ยมทุกรูป ไม่เป็น รูปสี่เหลี่ยม มี 2 เทอมและสรุปขัดแย้ง มี 4 เทอมและสรุปขัดแย้ง

  26. 256 ผังช่วงความคิดนิรนัย 256 Mode of Syllogism

  27. การกำหนดแบบของช่วงความคิดการกำหนดแบบของช่วงความคิด ประพจน์มีอยู่ 4 ชนิด คือ A E I O ใน 1 ช่วงความคิด มี 3 ประพจน์ จากประพจน์เหตุ 2 ประพจน์ จัดแบบ ได้ 16 แบบ ดังนี้ AA EA IA OA AE EE IE OE AI EI II OI AO EO IO OO รวม 4 ผังจะได้ 64 รวมประพจน์สรุป 1 ประพจน์ จะได้ แบบละ 4 รูป ดังนี้ A E I O รวม 4 ผังจะได้ 256

  28. M = Middle term (เทอมกลาง) P = Predicate of Conclusion (เทอมเอก) S = Subject of Conclusion (เทอมโท) M-P = ประโยคที่มีเทอมกลางเป็นประธาน และเทอมเอกเป็นภาคแสดง M-S = ประโยคที่มีเทอมกลางเป็นประธาน และเทอมโทเป็นภาคแสดง P-M = ประโยคที่มีเทอมเอกเป็นประธาน และเทอมกลางเป็นภาคแสดง S-M = ประโยคที่มีเทอมโทเป็นประธาน และเทอมกลางเป็นภาคแสดง (ผังที่1) (ผังที่2) (ผังที่3) (ผังที่4) 1. M-P 1. P-M 1. P-M 1. M-P 2. M-S 2. M-S 2. S-M 2. S-M ... S-P ... S-P ... S-P ... S-P แต่ละผังจะได้รูปนิรนัย 64 รูป (4 ผัง x 4 ประโยค x 4 รูป x 4 ครั้ง) รวม 256 รูป และแต่ละผังจะมีรูปสมเหตุสมผลเพียง 4/ 4/5/6 รูป

  29. ตัวอย่าง ผังที่ 1 1. MaP = AAA-1 1. Barbara = All aare b คนทั้งหมดเป็นสิ่งต้องตาย นักการเมืองทุกคนเป็นคน ... นักการเมืองทุกคนเป็นสิ่งต้องตาย 2. S aM = All c area 3....S aP = All c are b 2. Ferio EIO-1 = 1. MeP = All bare not c ไม่มีสัตว์สี่เท้าตัวใดเป็นคน สัตว์บางชนิดเป็นสัตว์สี่เท้า ... สัตว์บางชนิดไม่เป็นคน 2. S iM = Some a areb 3....S oP = Some a are not c

  30. ตัวอย่างผังที่ 4 คนทั้งหมดเป็นสัตว์ สัตว์ทั้งหมดเป็นสิ่งมีชีวิต เพราะฉะนั้นสิ่งมีชีวิตบางสิ่งเป็นคน 1. All a areb = 1 (S a M) AAI-4 2. All barec = 2 (MaP) 3. ... Somecare a = 3 ( S i P)

  31. Syllogism/ช่วงความคิดนิรนัยSyllogism/ช่วงความคิดนิรนัย สรุป…เกณฑ์การอ้างเหตุผลแบบช่วงความคิดนิรนัย……. 1. แต่ละช่วงความคิดมี 3 ประโยคเท่านั้น 2. ในแต่ละประโยคกล่าวถึงสิ่ง 2 สิ่ง โดยใช้คำเชื่อมว่า “เป็น” หรือ “ไม่เป็น” 3. สิ่ง (เทอม) มีเพียง 3 สิ่ง (เทอม) และ แต่ละสิ่ง (เทอม) ต้องปรากฏใช้ 2 ครั้ง

  32. การกำหนดประโยคอ้างเอก/โทการกำหนดประโยคอ้างเอก/โท 1. โลหะทั้งหมด เป็นสื่อไฟฟ้า (ข้ออ้างเอก) 2. เหล็ก ท. เป็นโลหะ (ข้ออ้างโท) 3. . . . เหล็ก ท.เป็นสื่อไฟฟ้า (ข้อสรุป) เทอมที่ขีดเส้นใต้เป็นเทอมเอกที่อยู่ในภาคแสดงข้อสรุป เทอมที่เป็นตัวเอนเป็นเทอมโท ที่อยู่ในภาคประธานข้อสรุป ข้ออ้างเอก= ความจริงทั่วไป / กฎ (กว้าง) ข้ออ้างโท= ความจริงเฉพาะ / สิ่งที่จะพิสูจน์ (แคบลง)

  33. การอ้างเหตุผลแต่ละครั้งการอ้างเหตุผลแต่ละครั้ง ข้ออ้างเอก-โทจะเอาประโยคใดขึ้นก่อนก็ได้ Ex. 1. เหล็กเป็นโลหะ (อ้างโท) 2. โลหะเป็นสื่อไฟฟ้า (อ้างเอก) 3. . . . เหล็กเป็นสื่อไฟฟ้า (ข้อสรุป) (เทอมที่ขีดเส้นใต้เป็นเทอมโท)

  34. ก. มนุษย์ทุกคนเป็นสิ่งต้องตาย ข. พระเจ้าไม่เป็นมนุษย์ ค. ดังนั้น พระเจ้าไม่เป็นสิ่งต้องตาย มี 3 ประโยควิเคราะห์ได้ ดังนี้ ประโยค ก. เป็นข้ออ้างเอก / ประโยคเหตุใหญ่ (Major Premise) ประโยค ข. เป็นข้ออ้างโท / ประโยคเหตุเล็ก (Minor Premise) ประโยค ค. เป็นข้อสรุป (Conclusion)

  35. จากตัวอย่างมีศัพท์เพียง 3 ศัพท์ แต่ละศัพท์ปรากฏเพียง 2 ครั้ง คือ 1. มนุษย์ 2. สิ่งต้องตาย 3. พระเจ้า เทอมกลาง (Middle Term) คือ เทอมที่ปรากฏในข้ออ้างเอกและข้ออ้างโท (มนุษย์) เทอมเอก / ใหญ่ (Major Term) คือ เทอมที่เป็นภาคแสดงข้อสรุป (สิ่งต้องตาย) เทอมโท / รอง (Minor Term) คือ เทอมที่เป็นประธานของข้อสรุป (พระเจ้า)

  36. ความสมเหตุสมผลของช่วงความคิดความสมเหตุสมผลของช่วงความคิด Syllogism ที่สมเหตุสมผล (Validity) หมายถึง 2 ข้ออ้างบังคับให้เกิดข้อสรุปโดยจำเป็นตามเงื่อนไขของการอ้างและกฎการพิสูจน์ด้วยกฎ5ข้อ

More Related