390 likes | 858 Views
การลงทุน Contract Farming ในประเทศเพื่อนบ้าน. โดย ดร.สุทธิพร จีระพันธุ รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์. หัวข้อการบรรยาย. ความเป็นมา การลงทุนในประเทศพม่า การลงทุนในประเทศลาว การลงทุนในประเทศกัมพูชา. ความเป็นมาของ Contract Farming ในประเทศเพื่อนบ้าน.
E N D
การลงทุน Contract Farming ในประเทศเพื่อนบ้าน โดย ดร.สุทธิพร จีระพันธุ รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
หัวข้อการบรรยาย • ความเป็นมา • การลงทุนในประเทศพม่า • การลงทุนในประเทศลาว • การลงทุนในประเทศกัมพูชา
ความเป็นมาของ Contract Farming ในประเทศเพื่อนบ้าน • มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2546 • คณะรัฐมนตรีได้ประชุมปรึกษาเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2548 ความหมาย การลงทุนทำการเกษตรแบบมีสัญญา – การทำสัญญาระหว่างบริษัทเอกชน เรียกว่า ผู้รับซื้อผลผลิต/ผู้ซื้อ กับเกษตรกร เรียกว่า ผู้ผลิต/ผู้ขาย โดยทั้งสองฝ่ายทำสัญญากัน ก่อนการผลิต และเป็นสัญญาที่มีข้อตกลงเกี่ยวกับราคาของผลผลิตและปริมาณผลผลิตที่จะรับซื้อ เมื่อถึงฤดูเก็บเกี่ยว ผู้ซื้อมีหน้าที่ช่วยเหลือด้านเงินทุน ตลอดจนการส่งเสริม ส่วนผู้ขายมีหน้าที่ดำเนินการผลิตให้สอดคล้องกัน นอกจากนี้อาจมีเงื่อนไขอื่นอีกตามแต่จะตกลงกัน
ตัวอย่างสัญญาซื้อขายภายใต้ Contract Farming
Ayeyawady-Cho Phraya-Mekong Economic Cooperation Strategy: ACMECS ปฏิญญาพุกาม(BAGAN Declaration) 12 พ.ย. 2546 เพื่อแสดงเจตนารมณ์ทางการเมืองภายใต้กรอบยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจของทั้ง 4 ประเทศ ไทย พม่า ลาว และกัมพูชา ส่วนเวียดนามได้เข้าร่วมภายหลัง วัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน การย้ายฐานการผลิตไปประเทศเพื่อนบ้าน สร้างงานและ ลดช่องว่างรายได้ของชาวไทยและประเทศเพื่อนบ้าน ลดการเคลื่อนย้ายแรงงานผิดกฎหมาย ลดปัญหายาเสพติด สร้างความมั่นคงและมั่งคั่งทางเศรษฐกิจสี่ประเทศ
พืชที่ได้รับการส่งเสริมภายใต้กรอบ ACMECS • ปาล์มน้ำมัน • มันสำปะหลัง • อ้อย • ถั่วเหลือง
แนวทางการลงทุนในประเทศพม่าแนวทางการลงทุนในประเทศพม่า
ข้อมูลทั่วไปของประเทศพม่าข้อมูลทั่วไปของประเทศพม่า
พื้นที่เป้าหมายและพืชที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูกในพม่าพื้นที่เป้าหมายและพืชที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูกในพม่า รายชื่อรัฐ/เขต อ้อย มันสำปะหลัง อ้อย มันสำปะหลัง Tanintharyi Mon Kayin Yangon Ayeyarwady Bago Rakhine Magwe Chin Kayah Mandalay Sagaing Shan Kachin 1 2 3 ถั่วเหลือง อ้อย มันสำปะหลัง 4 เชียงราย 5 แม่ฮ่องสอน 6 ตาก 7 ถั่วเหลือง อ้อย ปาล์มน้ำมัน 8 กาญจนบุรี 9 ราชบุรี 10 11 เพชรบุรี ถั่วเหลือง ปาล์มน้ำมัน 12 13 ประจวบคีรีขันธ์ 14 พื้นที่เป้าหมาย
การลงทุนในประเทศพม่าภายใต้กฎหมายการลงทุนภายใต้ Myanmar Foreign Investment Law – FIL รูปแบบการลงทุนที่ได้รับอนุญาตจากรัฐบาลพม่า มี 2 รูปแบบ ดังนี้ • การลงทุนที่ชาวต่างชาติถือหุ้น 100% • การร่วมลงทุนระหว่างนักลงทุนต่างชาติกับ นักลงทุนในพม่า - การร่วมลงทุนกับรัฐบาลพม่า - การร่วมลงทุนกับเอกชนพม่า
ขั้นตอนการยื่นขอรับการส่งเสริมการลงทุนจากพม่าขั้นตอนการยื่นขอรับการส่งเสริมการลงทุนจากพม่า ผู้ลงทุนยื่นแบบฟอร์มต่อ MIC MIC ออกใบอนุญาตลงทุน ผู้ลงทุนนำใบอนุญาตจาก MIC ไปขอ Permit to Trade จาก Companies Registration Office ผู้ลงทุนซื้อประกันจาก Myanmar Insurance Corp. บริษัทและพนักงานต่างชาติต้องเปิดบัญชีกับธนาคาร ที่ MICกำหนด ผู้ลงทุนต้องจดทะเบียนบริษัทที่ Companies Registration Office บริษัทต้องจดทะเบียนเป็นผู้นำเข้าหรือส่งออกกับ The Export-Import Registration Office ณ กระทรวงการค้า MIC: The Office of Myanmar Investment Commission
สิทธิประโยชน์ที่นักลงทุนต่างชาติจะได้รับสิทธิประโยชน์ที่นักลงทุนต่างชาติจะได้รับ • จ่ายค่าเช่าที่ดินในอัตราพิเศษ • ชำระภาษีบุคคลธรรมดาอัตราเดียวกับชาวพม่า • หักค่าลดหย่อน • หักค่าเสื่อมราคา • ยกยอดผลประกอบการที่ขาดทุน • ซื้อสินค้าในราคาของทางการ
โอกาสและอุปสรรคในการลงทุนในประเทศพม่าโอกาสและอุปสรรคในการลงทุนในประเทศพม่า โอกาส • ตลาดใหญ่ • นโยบายส่งเสริมการลงทุน • สภาพภูมิประเทศและอากาศ • ค่าจ้างแรงงานต่ำ • การแข่งขันจากประเทศตะวันตกระดับต่ำ • ไทยมีต้นทุนการขนส่งไปพม่าต่ำกว่าประเทศอื่น • ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของประเทศพม่า
โอกาสและอุปสรรคในการลงทุนในประเทศพม่า (ต่อ) อุปสรรค • การค้าและการลงทุนจากต่างประเทศอยู่ใน ระดับต่ำ ทำให้ขาด complementarity ระหว่างอุตสาหกรรม/สาขาเศรษฐกิจ • ขาดข้อมูลจากภาครัฐเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจการลงทุน • ถึงแม้ว่ามีประชากรจำนวนมาก แต่ยังมีกำลังซื้อต่ำ • สินค้าที่ผลิตในพม่าถูกกีดกันทางการค้า
แนวทางการลงทุนในประเทศลาวแนวทางการลงทุนในประเทศลาว
ข้อมูลทั่วไปของประเทศลาวข้อมูลทั่วไปของประเทศลาว
พื้นที่เป้าหมายและพืชที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูกในลาวพื้นที่เป้าหมายและพืชที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูกในลาว เชียงราย Luang phrabang พะเยา Luangphrabang Xyabury Xiengkhuang Xiengkhuang Xyabury นครพนม Xaysomboon น่าน Vientiane Vientiane Bolikhamxay อุตรดิตถ์ Khammuane หนองคาย เลย นครพนม Savannakhet Saravane ถั่วเหลือง Sekong อุบลราชธานี Champa- sack อ้อย มันสำปะหลัง Attapeu ถั่วเหลือง ปาล์มน้ำมัน มันสำปะหลัง พื้นที่เป้าหมาย
การลงทุนในประเทศลาวภายใต้กฎหมายธุรกิจปี 2537และกฎหมายส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุนภายในและต่างประเทศ ปี 2544 รูปแบบการลงทุนในประเทศลาว • ผู้ลงทุนต่างประเทศ สามารถดำเนินการลงทุนในสปป.ลาว ด้วยรูปแบบการลงทุน 2 ลักษณะ คือ 1. การร่วมทุนระหว่างผู้ลงทุนต่างประเทศ และ ผู้ลงทุนสัญชาติลาว2. การลงทุนโดยนักลงทุนต่างประเทศทั้งหมด
ขั้นตอนการลงทุนในประเทศลาวขั้นตอนการลงทุนในประเทศลาว ศึกษาสภาพแวดล้อม อุตสาหกรรม และธุรกิจ ที่สนใจลงทุน คำร้องขอลงทุน กฎระเบียบของบริษัท ยื่น Letter of Intent สัญญาร่วมลงทุน (กรณีวิสาหกิจผสม) บทวิภาคเศรษฐกิจ-เทคนิค หรือแผนดำเนินธุรกิจ ยื่น MoU เอกสารยืนยันนิติบุคคลและฐานะการเงิน ยื่นผลการศึกษาโครงการเบื้องต้นต่อ Department of Domestic and Foreign Investment (DDFI) พิจารณา หมายเหตุ : โครงการที่ลงทุนในสปป.ลาว จะไม่ได้รับการอนุมัติให้ลงทุน หากไม่ได้รับการยินยอม ในเบื้องต้นจาก DDFI และการยินยอมจากรัฐบาลท้องถิ่นที่โครงการจะจัดตั้ง
สิทธิพิเศษสำหรับนักลงทุนต่างชาติสิทธิพิเศษสำหรับนักลงทุนต่างชาติ • ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นเวลา 2 – 4 ปี ขึ้นกับประเภทโครงการ • ยกเว้นภาษีส่งออกสำหรับสินค้าส่งออกหรือ สินค้าส่งออกต่อ • ยกเว้นภาษีนำเข้าวัตถุดิบที่นำมาใช้ในการผลิต เพื่อการส่งออก • สามารถจัดส่งเงินตราต่างประเทศ ผ่านธนาคารพาณิชย์ในลาว • สามารถนำผลกำไรกลับประเทศผู้ลงทุนได้
โอกาสและอุปสรรคในการลงทุนในประเทศลาวโอกาสและอุปสรรคในการลงทุนในประเทศลาว โอกาส • ประเทศลาวมีทรัพยากรธรรมชาติสมบูรณ์ • ที่ดินว่างจำนวนมาก • มีแหล่งน้ำมาก • แรงงานสามารถฝึกฝนได้ และค่าจ้างแรงงานถูก • มีนโยบายส่งเสริมการลงทุน เช่น นโยบายส่งเสริมการเกษตร, Contract Farming
โอกาสและอุปสรรคในการลงทุนในประเทศลาว (ต่อ) อุปสรรค • การตีความกฎหมาย • จำนวนธนาคารพาณิชย์ในประเทศลาวมีน้อย • การเก็บภาษีในประเทศลาวเปลี่ยนแปลงง่าย • ขาดข้อมูลที่ทันสมัย
แนวทางการลงทุนในประเทศกัมพูชาแนวทางการลงทุนในประเทศกัมพูชา
ข้อมูลทั่วไปของประเทศกัมพูชาข้อมูลทั่วไปของประเทศกัมพูชา
พื้นที่เป้าหมายและพืชที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูกในกัมพูชาพื้นที่เป้าหมายและพืชที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูกในกัมพูชา อ้อย มันสำปะหลัง มันสำปะหลัง สุรินทร์ ศรีสะเกษ ถั่วเหลือง อ้อย มันสำปะหลัง บุรีรัมย์ Oddar Meanchey Preah Vihear Banteay Mean Chey Banteay Meanchey Siem Reap สระแก้ว ถั่วเหลือง ปาล์มน้ำมัน ถั่วเหลือง Battambang Lake Kampong Thom Pailin จันทบุรี ถั่วเหลือง ปาล์มน้ำมัน Pursat KampongChhnang ตราด Kampong Speu อ่าวไทย Kandal Koh Kong มันสำปะหลัง อ้อย ปาล์มน้ำมัน Takeo Kampot พื้นที่เป้าหมาย
การลงทุนในประเทศกัมพูชาภายใต้กฎหมายLaw and Regulations on Investment in the Kingdom of Cambodia ฉบับปี 2537 รูปแบบการลงทุนที่ได้รับอนุญาตจากรัฐบาลกัมพูชา มี 5 รูปแบบ • การถือหุ้นของชาวกัมพูชาทั้งสิ้น 100 % • การถือหุ้นของชาวต่างชาติทั้งสิ้น 100% • Joint Venture • Build-Operate-Transfer: BOT • Business Cooperation Contract : BBC สัญญาความร่วมมือทางธุรกิจ
ขั้นตอนการลงทุนในประเทศกัมพูชาขั้นตอนการลงทุนในประเทศกัมพูชา ข้อเสนอการลงทุน CDC ออกใบรับรองเงื่อนไขจดทะเบียนแก่ผู้ประกอบการ 3 วันทำการ • - จดทะเบียนบริษัท โดยมีใบรับรองจาก • หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • ทบทวนและรับรองการก่อสร้างโรงงาน • โดยกระทรวงการจัดการที่ดิน • - ศึกษาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม โดย • กระทรวงสิ่งแวดล้อม • - จดทะเบียนภาษี 28 วันทำการ CDC: The Council for the Development of Cambodia CDC ออกใบรับรองจดทะเบียนแก่ผู้ลงทุน
สิทธิพิเศษสำหรับนักลงทุนต่างชาติสิทธิพิเศษสำหรับนักลงทุนต่างชาติ • ยกเว้นภาษีเงินได้ • ลดภาษีเงินได้ภายหลังจากการยกเว้นภาษีเงินได้ • ยกเว้นอากรนำเข้าเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์และวัสดุก่อสร้างสำหรับโครงการที่ผลิตเพื่อทดแทน การนำเข้าวัตถุดิบ • ยกเว้นอากรส่งออก
โอกาสและอุปสรรคในการลงทุนในประเทศกัมพูชาโอกาสและอุปสรรคในการลงทุนในประเทศกัมพูชา โอกาส • กัมพูชาได้รับความช่วยเหลือต่าง ๆ จาก นานาประเทศ • มีทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์ • มีนโยบายส่งเสริมการลงทุน
โอกาสและอุปสรรคในการลงทุนในประเทศกัมพูชา (ต่อ) อุปสรรค • ขาดแคลนข้อมูลข่าวสาร • ภาษา • กฎหมายขาดความชัดเจน • การซื้อขายไม่นิยมผ่านระบบธนาคาร • ค่าขนส่งสูง
ความก้าวหน้าโครงการ Contract Farming • จัดประชุมทั้งในและต่างประเทศ : 12 ครั้ง • สำรวจพื้นที่เพาะปลูกในพม่าและลาวร่วมกับภาคเอกชน : 3 ครั้ง • การลงทุนของภาคเอกชนในประเทศเพื่อนบ้าน ณ ปัจจุบัน * ถั่วเหลือง : 7 บริษัท * อ้อย : 2 บริษัท * ปาล์มน้ำมัน : 5 บริษัท
เป้าหมายการปลูกถั่วเหลืองและปาล์มน้ำมันในประเทศเพื่อนบ้านปี 2549-2553
เป้าหมายในประเทศเพื่อนบ้าน ปี 2549-2553