410 likes | 635 Views
Employee’s Choice กับสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ. โดย คุณดวงมน ธีระวิคาวี ผู้อำนวยการฝ่าย ฝ่ายกำกับธุรกิจจัดการลงทุน สำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. วันที่ 25 เมษายน 2546. หัวข้อการบรรยาย. แนวคิดของการมี Employee ’ s choice หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับ Employee ’ choice
E N D
Employee’s Choice กับสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ โดย คุณดวงมน ธีระวิคาวี ผู้อำนวยการฝ่าย ฝ่ายกำกับธุรกิจจัดการลงทุน สำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต.วันที่ 25 เมษายน 2546
หัวข้อการบรรยาย แนวคิดของการมี Employee’s choice หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับ Employee’choice ปัญหาและอุปสรรคในปัจจุบัน แนวทางดำเนินการของสำนักงาน
I. แนวคิดของการมีEmployee’s choice 3
Employee’s Choice คือ การเปิดโอกาสให้สมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเลือกนโยบายการลงทุนได้ตามความเหมาะสมของตนเอง
นโยบาย 60 : 40 ทรัพย์สินที่มีความมั่นคงสูง 60 % 40 % ทรัพย์สินที่มีความมั่นคงน้อยกว่า ..ที่ผ่านมา.. พฤติกรรมการลงทุนเพียงแบบเดียว
ความหลากหลายของโครงสร้างกองทุนความหลากหลายของโครงสร้างกองทุน โครงสร้างของสมาชิกสัดส่วน => ชาย : หญิง สัดส่วน => วัยหนุ่มสาว : วัยกลางคน :วัยใกล้เกษียณอัตราการเข้า-ออกของสมาชิก(turnover rate)
ความหลากหลายของสมาชิกความหลากหลายของสมาชิก สมาชิกแต่ละรายมีความแตกต่างกัน เช่นอายุความเสี่ยงที่ยอมรับได้ผลตอบแทนที่ต้องการ แต่คณะกรรมการกองทุนเลือกนโยบายการลงทุนแทนสมาชิกทุกคน
วัยหนุ่มสาว วัยกลางคน วัยใกล้เกษียณ คำตอบ : ขึ้นอยู่กับสมาชิกแต่ละคน ไม่ใช่คณะกรรมการกองทุน ความเสี่ยงปานกลาง Balanced ความเสี่ยงต่ำ Conservative ความเสี่ยงสูง Aggressive 8
สำนักงานเปิดโอกาสให้สมาชิก เลือกนโยบายการลงทุนเองตั้งแต่วันที่ 30 มีนาคม 2544 เป็นต้นไป เป็นสิทธิไม่ได้บังคับ 9
II. หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับ Employee’s choice 10
รูปแบบของนโยบายการลงทุน กองทุนความเสี่ยงต่ำ (conservative fund)ลงทุนได้เฉพาะทรัพย์สินที่มีความเสี่ยงต่ำตามที่สำนักงานกำหนด เช่น กระทรวงการคลังค้ำประกัน หรือได้ rating 4 อันดับแรก เป็นต้นกองทุนมาตรฐานกองทุนที่มีชื่อเรียกตามนโยบายการลงทุนและกระจายความเสี่ยง ตามมาตรฐานเดียวกับกองทุนรวมกองทุนลักษณะพิเศษ (specific fund)กองทุนที่มีการกระจายความเสี่ยงน้อยกว่ากองทุนมาตรฐาน จึงอาจมีความเสี่ยงสูงกว่าหรือต่ำกว่า
กองทุนหุ้น กองทุนผสม กองทุนตราสารหนี้ ตราสารทุน ตราสารหนี้ เงินฝากและตั๋วเงิน Conservative fund ตัวอย่างนโยบายการลงทุน ความเสี่ยง วัยกลางคนBalanced วัยใกล้เกษียณConservative วัยหนุ่มสาวAggressive 100% 20% 30% 50% 50% 50% 100% ผลตอบแทน หมายเหตุ : สัดส่วนการลงทุนเป็นสัดส่วนโดยประมาณ และอาจเปลี่ยนแปลงหากสถานการณ์การลงทุนเปลี่ยนแปลงไป 12
นโยบายการลงทุนใดที่เหมาะสมนโยบายการลงทุนใดที่เหมาะสม สมาชิกทำความเข้าใจตนเอง- อายุ - ความเสี่ยงที่ยอมรับได้ - ผลตอบแทนที่ต้องการสมาชิกทำความเข้าใจนโยบาย การลงทุน - ความเสี่ยง / ผลตอบแทน เครื่องมือช่วย => ทำแบบสอบถาม
รูปแบบของกองทุนควรเป็นอย่างไรรูปแบบของกองทุนควรเป็นอย่างไร Single Fund Pooled Fund นายจ้าง A นายจ้าง B นายจ้าง C นายจ้าง D 14
ข้อดี-ข้อเสียของ Single fund ข้อดี :- คณะกรรมการกองทุนมีอำนาจการตัดสินใจอย่างเป็นอิสระ ในเรื่องการแก้ไขนโยบาย การลงทุน หรือข้อบังคับกองทุน เป็นต้น ข้อเสีย :- กองทุนต้องรับภาระค่าใช้จ่ายในการ ดำเนินงานทั้งหมด
ข้อดี-ข้อเสียของ Pooled fund ข้อดี :- กองทุนสามารถเฉลี่ยค่าใช้จ่ายในการ ดำเนินงานกับนายจ้างรายอื่นที่อยู่ในกองทุน ข้อเสีย :- อำนาจการตัดสินใจของคณะกรรมการ กองทุนขาดความเป็นอิสระ เพราะต้อง ขึ้นอยู่กับนายจ้างรายอื่น ในกองทุนด้วย
รูปแบบของกองทุน (ต่อ) 1 กองทุน => 1 นโยบาย หรือ 1 กองทุน => หลายนโยบาย
Single Fund1 กองทุน => 1 นโยบาย นายจ้าง ตั้งใหม่ 3 กอง กองเดิม กองA กองB กองC รวมเป็น 4 กองทุน 18
ข้อดี – ข้อเสีย ข้อดี :- ไม่มีปัญหาการเรียกร้องสิทธิระหว่างนโยบาย การลงทุนที่มีผลตอบแทนต่างกัน เนื่องจาก เป็นคนละนิติบุคคลกัน ข้อเสีย:- เพิ่มภาระแก่กองทุน ทั้งในส่วนของค่าใช้จ่ายและ อัตรากำลังคนที่ใช้เช่น ถ้ามี 4 นโยบายการลงทุน => 4กองทุน / 4คณะกรรมการกองทุน => 4ข้อบังคับกองทุน => 4ทะเบียนสมาชิก
1 กองทุน => หลายนโยบาย นายจ้าง กองทุน แบ่งเป็น sub-fund นโยบายเดิม นโยบายA นโยบายB นโยบายC กองทุนเดียวมีหลายนโยบายการลงทุน 20
ข้อดี 1 กองทุน => หลายนโยบาย - ลดภาระแก่กองทุน ทั้งในส่วนของค่าใช้จ่าย และอัตรากำลังคนเช่นถ้ามี 4 นโยบายการลงทุน => 1 กองทุน=> 1 คณะกรรมการกองทุน=> 1 ทะเบียนสมาชิก => 1 ข้อบังคับกองทุน
ข้อเสีย 1 กองทุน => หลายนโยบาย - แม้ว่าสมาชิกจะแสดงความจำนงเป็น ลายลักษณ์อักษรว่าจะไม่เรียกร้องสิทธิ ใด ๆ ที่เกิดจากผลตอบแทนที่ไม่เท่ากัน กับนโยบายการลงทุนอื่น ๆ แต่อาจมีปัญหาในทางปฏิบัติเกิดขึ้น
ปัญหาในทางปฏิบัติ หากสมาชิกต้องการโอนย้ายกองทุนหรือมีสมาชิกสิ้นสมาชิกภาพจำนวนมาก=> สภาพคล่องของกองทุนไม่เพียงพอ=> ไม่สามารถขายทรัพย์สินได้ทัน บริษัทจะบริหาร สภาพคล่องอย่างไร ?
ปัญหาในทางปฏิบัติ (ต่อ) กองทุนย่อยมีภาระค่าใช้จ่าย ต่อบุคคลภายนอก เช่น ค่าสอบบัญชี แต่ไม่มีเงินเพียงพอ จะทำอย่างไรไม่ให้ กองทุนย่อยอื่นต้องร่วม รับภาระด้วย ?
ทางออก คณะกรรมการกองทุนจึงควรถามบริษัทจัดการในการแก้ไขหรือป้องกันปัญหาทางปฏิบัติเหล่านี้ เพื่อให้สมาชิกกองทุนมั่นใจได้ว่า ทุกปัญหาได้รับการแก้ไขแล้ว
Pooled Fund1 กองทุน => 1 นโยบาย กองทุนร่วมทุน A กองทุนร่วมทุน C กองทุนร่วมทุน B กองทุนเดิมของนายจ้าง ร่วมในกองทุนร่วมทุน A B C นายจ้าง 26
Pooled Fund1 กองทุน => หลายนโยบาย นโยบายA นโยบายB นโยบายC แบ่งเป็น sub-fund กองทุนเดิม กองทุนร่วมทุน เข้าร่วมในกองทุนร่วมทุนเป็นsub-fund นายจ้าง 27
การเลือกนโยบายการลงทุนการเลือกนโยบายการลงทุน C A B กองทุน ความเสี่ยงต่ำ กองทุนหุ้น กองทุน ตราสารหนี้ นาย ก 0%100% 0% นาย ข 0%40%60% นาย ค 20%30%50% 28
การเลือกนโยบายการลงทุน (ต่อ) นายจ้างต้องใส่เงินตามที่ลูกจ้างเลือก อัตราเงินสะสม/เงินสมทบขั้นต่ำ ดูจากอัตรารวมทุกกองทุนที่ลูกจ้างเลือก 29
การเปลี่ยนกองทุน สมาชิกสามารถเปลี่ยนกองทุนได้ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้งการเปลี่ยนกองทุนได้บ่อยข้อดี : เพิ่มความยืดหยุ่นให้สมาชิกข้อเสีย :Operation cost ของระบบ ที่ต้องรองรับในส่วน - นายจ้าง - บริษัทจัดการ
Employee’s choice น้อย สาเหตุ :เป็นเรื่องใหม่ ต้นทุนในการดำเนินการ สูงขึ้น
เป็นเรื่องใหม่ ลูกจ้าง1. ศึกษาข้อมูลและทำความเข้าใจเกี่ยวกับ การลงทุนมากขึ้น 2. ต้องตัดสินใจเลือกนโยบายการลงทุนเอง 3. ต้องติดตามดูแลสิทธิประโยชน์ที่จะได้รับ มากขึ้น เช่น- ตรวจสอบการนำส่งเงินสะสม /เงินสมทบ ที่นำเข้าในแต่ละนโยบายที่เลือก - ติดตามผลการดำเนินงานของแต่ละนโยบาย
เป็นเรื่องใหม่ (ต่อ) นายจ้าง * ต้องพัฒนาระบบการบันทึกข้อมูลการนำส่ง เงินสะสม / เงินสมทบเข้าแต่ละกองทุน บริษัทจัดการ* ต้องพัฒนาระบบให้สามารถตอบสนอง ความต้องการของสมาชิก เช่นกรณีที่สมาชิกต้องการตั้ง 1 กองทุน => หลายนโยบาย ต้องมีระบบ ในการรวมยอดเงินของสมาชิกที่อยู่ใน ทุกนโยบายเป็นต้น
เป็นเรื่องใหม่ (ต่อ) คณะกรรมการกองทุน * ศึกษาข้อมูลและทำความเข้าใจ เพื่อถ่ายทอดให้สมาชิก โดยจัดเอง หรือขอให้บริษัทจัดการดำเนินการให้
IV. แนวทางดำเนินการ ของสำนักงาน 36
การแก้กฎหมายให้ชัดเจนการแก้กฎหมายให้ชัดเจน แก้ไข พ.ร.บ.กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 1.การจัดตั้งกองทุนที่มีกองทุนย่อยแยกตาม นโยบายการลงทุน (master fund)2.กำหนดให้มีตัวแทนขายมาให้คำแนะนำ แก่สมาชิกในการเลือกนโยบายการลงทุน
ให้ความรู้อย่างต่อเนื่องให้ความรู้อย่างต่อเนื่อง ให้ความรู้เกี่ยวกับ - การจัดตั้ง Employee’s choice - บทบาทหน้าที่ของสมาชิก
บทส่งท้าย employee’s choice ได้เปิดโอกาสให้สมาชิกสามารถเลือกนโยบายการลงทุนที่เหมาะสมกับตนเองได้และเมื่อเลือกแล้วสมาชิกควรติดตามผลการดำเนินงานของกองทุนที่เลือกด้วยเพื่อประโยชน์สูงสุดตามความมุ่งหวังของสมาชิก
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่...สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่... ฝ่ายกำกับธุรกิจจัดการลงทุน สำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. โทร. 0-2252-3223 ต่อ 2758,2759 โทรสาร. 0-2256-7702 Contact us : www.assetmgt@sec.or.th