350 likes | 545 Views
สถานการณ์ล่าสุดและแนวโน้มเศรษฐกิจไทย ในช่วงครึ่งหลังของปี 2552 และปี 2553. ยรรยง ไทยเจริญ 18 สิงหาคม 2552. หัวข้อในการนำเสนอ. ผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจโลกต่อเศรษฐกิจไทย ภาวะเศรษฐกิจไทยปัจจุบัน : การขยายตัวและเสถียรภาพเศรษฐกิจ แนวโน้มเศรษฐกิจในช่วงครึ่งหลังของปี 2552 และปี 2553.
E N D
สถานการณ์ล่าสุดและแนวโน้มเศรษฐกิจไทยสถานการณ์ล่าสุดและแนวโน้มเศรษฐกิจไทย ในช่วงครึ่งหลังของปี 2552 และปี 2553 ยรรยง ไทยเจริญ 18 สิงหาคม 2552
หัวข้อในการนำเสนอ • ผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจโลกต่อเศรษฐกิจไทย • ภาวะเศรษฐกิจไทยปัจจุบัน: การขยายตัวและเสถียรภาพเศรษฐกิจ • แนวโน้มเศรษฐกิจในช่วงครึ่งหลังของปี 2552 และปี 2553
ล่าสุด IMF และ Consensus ปรับลดประมาณการอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกในปี 2009 Consensus GDP Forecasts 2009 IMF's GDP Forecasts 2009 Note: NIEs includes KR, TW, HK, SG ASEAN-5 includes ID, MY, PH, TH, VN Note: North East Asia includes CN, HK, KR and TW South East Asia includes ID, MY, PH, SG, TH and VN Source: IMF as of April and July 2009 and Consensus as of May and July 2009
แต่โดยรวมเศรษฐกิจโลกน่าจะผ่านจุดต่ำสุดแล้วแต่โดยรวมเศรษฐกิจโลกน่าจะผ่านจุดต่ำสุดแล้ว
เศรษฐกิจไทยได้รับผลกระทบจากวิกฤตการเงินโลกผ่านการส่งออกที่ลดลงในช่วงที่ผ่านมาเศรษฐกิจไทยได้รับผลกระทบจากวิกฤตการเงินโลกผ่านการส่งออกที่ลดลงในช่วงที่ผ่านมา % YoY Contributions to GDP Growth Source : NESDB
อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจในช่วงไตรมาสที่ 1 ของปี 2552 ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ภาวะเศรษฐกิจในไตรมาสที่ 2 ของปี 2552 • ไตรมาสที่ 2 ของปี 2552:เริ่มเห็นสัญญาณทรงตัวเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า แต่ยังหดตัวจากระยะเดียวกันปีก่อน • ภาคอุตสาหกรรมเริ่มมีการผลิตเพื่อชดเชยสินค้าคงคลังที่ลดลงมากในช่วงก่อนหน้า และเพื่อตอบสนองต่อคำสั่งซื้อจากต่างประเทศ ในขณะที่ภาคการท่องเที่ยวยังคงซบเซา • เริ่มเห็นสัญญาณการทรงตัวของการบริโภคภาคเอกชน ในขณะที่การลงทุนภาคเอกชนยังคงหดตัวจากกำลังการผลิตส่วนเกินที่มีอยู่สูง • การใช้จ่ายภาครัฐเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยพยุงเศรษฐกิจในไตรมาสนี้ไม่ให้ทรุดลง
ผลกระทบดังกล่าว ส่งผลให้ภาคการผลิตของไทยหดตัวลงมากอย่างไรก็ดี จากข้อมูลล่าสุดสะท้อนว่าภาคการผลิตเริ่มปรับตัวดีขึ้นบ้าง Index 2000 =100 % YoY Sectoral Analysis Team Tel. 0-2283-5650
Manufacturing Production Index (MPI) p: preliminary Source : Constructed from BOT survey Sectoral Analysis Team Tel. 0-2283-5650
ในขณะที่รายได้ภาคเกษตรยังคงหดตัวต่อเนื่องตามผลผลิตที่ลดลงและราคาสินค้าเกษตรที่หดตัวตามราคาในตลาดโลกในขณะที่รายได้ภาคเกษตรยังคงหดตัวต่อเนื่องตามผลผลิตที่ลดลงและราคาสินค้าเกษตรที่หดตัวตามราคาในตลาดโลก Source: Bank of Thailand Source: Bank of Thailand Supply Side Policy Team Tel. 0-2283-5607
นอกจากนี้ ภาคการท่องเที่ยวอาจฟื้นตัวได้ช้าออกไปจากผลกระทบของเศรษฐกิจโลก ปัญหาการเมือง และการระบาดของไข้หวัดใหญ่ฯ No. of tourist(‘000) %YoY Source : Tourism Authority of Thailand
Export Growth (in terms of US$) May 2009 = $ 11.5 Bn (-26.5%) Jun 2009 = $ 12.2 Bn (-26.4%) Source: Constructed from data of Customs Department BOP Analysis Team Tel. 0-2283 - 5636
Import Growth (in terms of US$) May 2009 = $ 9.2 Bn (-34.3%) Jun 2009 = $ 11.2 Bn (-26.3%) Source: Constructed from data of Customs Department BOP Analysis Team Tel. 0-2283 - 5625
Private Consumption Index (PCI) Seasonally adjusted, 2000=100 ด้านอุปสงค์ได้รับผลกระทบเช่นกันสะท้อนจากเครื่องชี้การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนที่หดตัวต่อเนื่อง แต่เริ่มมีสัญญาณการหดตัวน้อยลง Private Investment Index (PII)Seasonally adjusted, 3-month moving average, 2000 = 100 Index %YoY %YoY Index Source : Bank of Thailand
สอดคล้องกับความเชื่อมั่นของภาคเอกชนที่ยังอยู่ในระดับต่ำ แม้เริ่มปรับเพิ่มขึ้นบ้างในเดือน พ.ค.-มิ.ย. Index Index Aug 09 = 50.2 BSI (LHS) May 09 = 45.4 CCI (RHS) Jun 09 = 72.5 Source : BSI is constructed by the Bank of Thailand CCI is constructed by the University of the Thai Chamber of Commerce.
รัฐบาลใช้จ่ายเพิ่มขึ้นและเร่งการเบิกจ่ายเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจรัฐบาลใช้จ่ายเพิ่มขึ้นและเร่งการเบิกจ่ายเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ * เป้าหมายเบิกจ่ายสะสม FY 2552 (ต.ค. - มิ.ย.) เท่ากับร้อยละ 70 เป้าหมายเบิกจ่ายทั้งปี เท่ากับร้อยละ 94 Source: GFMIS and BOT Public Finance Team Tel.0-2283-5628
มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลมีความชัดเจนขึ้นมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลมีความชัดเจนขึ้น ความคืบหน้ามาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ SP1 (ณ วันที่ 14 ก.ค. 2552) วงเงิน (พันล้านบาท) อัตราการเบิกจ่าย (ร้อยละ) • ณ วันที่ 14 ก.ค. 2552 เบิกจ่ายงบเพิ่มเติมแล้วถึงร้อยละ 52.6 (หากไม่รวมงบชดใช้เงินคงคลังและงบฉุกเฉินซึ่งมีสัดส่วนประมาณร้อยละ 20 ของงบเพิ่มเติมทั้งหมด จะมีการเบิกจ่ายร้อยละ 65.7) • โครงการที่คืบหน้าส่วนใหญ่เป็นการช่วยเหลือค่าครองชีพแก่ผู้มีรายได้น้อย อาทิ เช็คช่วยชาติ เรียนฟรี เบี้ยกตัญญู อสม. • ส่วนที่ยังไม่คืบหน้าส่วนใหญ่เป็นโครงการลงทุน อาทิ ถนนปลอดฝุ่น สถานีอนามัย พัฒนาแหล่งน้ำ ที่พักตำรวจ • สำหรับ SP2 ตามแผนคาดว่าจะเริ่มเบิกจ่ายได้ในไตรมาสที่ 4 ปี 2552 ที่มา: รวบรวมจาก www.chuaichart.com/progress/ ซึ่งจัดทำโดยสำนักนายกรัฐมนตรี ณ วันที่ 14 ก.ค.52
เสถียรภาพภายในประเทศ: โดยรวมอยู่ในเกณฑ์ดี • อัตราเงินเฟ้อ: ในไตรมาสที่ 2 ของปี 2552 ติดลบ จากราคาน้ำมันที่อยู่ในระดับต่ำเมื่อเทียบกับระยะเดียวกันปีก่อน และผลจากมาตรการลดค่าครองชีพของประชาชน รวมถึงนโยบายเรียนฟรี 15 ปี • อัตราเงินเฟ้อที่ติดลบ ไม่ได้สะท้อนว่าเศรษฐกิจไทยกำลังเข้าสู่ภาวะเงินฝืด • อัตราการว่างงาน:เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 1.6 ณ สิ้นไตรมาสที่ 1 ของปี 2552 มาอยู่ที่ร้อยละ 1.8 ในเดือนเมษายน 2552 จากการหดตัวของการจ้างงานในภาคอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่อง
ที่มาของอัตราเงินเฟ้อทั่วไป (Contribution) ร้อยละ
เสถียรภาพภายในประเทศของไทยยังอยู่ในเกณฑ์ดี %YoY อัตราเงินเฟ้อที่ลดลงต่อเนื่องจากผลของมาตรการภาครัฐ... June 09 -0.1 -4.0 %YoY June 09 1.1 -1.0 Source: Ministry of Commerce, calculated by BOT
22 ...ขณะที่การว่างงานซึ่งแม้จะปรับสูงขึ้นบ้างแต่ยังอยู่ในเกณฑ์ต่ำ Source: NSO
เสถียรภาพภายนอกและฐานะด้านต่างประเทศอยู่ในเกณฑ์ดีเสถียรภาพภายนอกและฐานะด้านต่างประเทศอยู่ในเกณฑ์ดี Million USD Current Account May 09 CA=$1.4bn Billion USD Reserves/ Short-term debt External Debt Apr-09 5.4 Apr-09 60.7 0.7
เสถียรภาพทางเศรษฐกิจการเงิน: โดยรวมยังคงเปราะบาง • ภาคธุรกิจ: แม้ว่ายอดขายยังคงหดตัวต่อเนื่อง แต่ความสามารถในการทำกำไรและชำระหนี้ปรับตัวดีขึ้นบ้าง จากต้นทุนที่ลดลงค่อนข้างมาก • ภาคครัวเรือน:ความสามารถในการชำระหนี้ด้อยลง จากความเสี่ยงด้านรายได้และการมีงานทำ • ภาคสถาบันการเงิน:มีความเสี่ยงด้านเครดิตต่อคุณภาพสินเชื่อมากขึ้นอย่างไรก็ดี ระบบ ธพ. ยังมีสภาพคล่องสูงและสามารถทำกำไรได้ดี ฐานะโดยรวมยังแข็งแกร่ง
สินเชื่อภาคเอกชนยังคงชะลอตัวอย่างต่อเนื่อง สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจขณะที่สภาพคล่อง ธพ. ยังเพียงพอ อัตราการขยายตัวของสินเชื่อภาคเอกชนของระบบ ธพ. Loan-to-Deposit Ratio ของระบบ ธพ. ร้อยละ ร้อยละ Consumer credits L/D (Adjusted for B/E**) พ.ค. 52 พ.ค. 52 84.0 Private credits* Corporate loans • ไม่รวมสินเชื่อที่ปล่อยให้กับสถาบันการเงิน รัฐบาล และองค์กรระหว่างประเทศ • ** ธพ. ได้รับอนุญาตให้ออก B/E เมื่อ ส.ค. 2006 Monetary Policy Strategy Team Tel. 02283 5616
การปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายในช่วงที่ผ่านมา ส่งผลให้อัตราดอกเบี้ย MLRและเงินฝากของ ธพ. ปรับลดลงตามลำดับ 1/ ใช้อัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยของอัตราต่ำสุดและสูงสุด
อัตราดอกเบี้ยเงินฝากที่แท้จริงอยู่ในระดับต่ำอัตราดอกเบี้ยเงินฝากที่แท้จริงอยู่ในระดับต่ำ 27 % p.a. Jun 09 10.27 5.86 0.88 -0.78 • Interest rates quoted by 4 largest Thai banks** Real MLR is adjusted by contemporaneous headline inflation. *** Real 12m deposit is adjusted by expected headline inflation 12 months ahead. • 1/ Average Min-Max Source : Bank of Thailand
ดัชนีค่าเงินบาท (NEER และ REER) เคลื่อนไหวอย่างมีเสถียรภาพสะท้อนว่าค่าเงินบาทเคลื่อนไหวสอดคล้องกับค่าเงินภูมิภาค Nominal and Real Effective Exchange Rate of the Thai Baht (Broad-21 TW, 1994 = 100) Index Baht/USD REER May 09 89.52 Baht/USD (RHS) Jun 09 34.14 NEER Jun 09 77.62 NEER และ REER แข็งค่าBaht อ่อนค่าเทียบกับ USD Source : Bank of Thailand
964% ofworld GDP Derivatives 78% ofliquidity 138% ofworld GDP Securitised Debt 11% ofliquidity Broad Money 122% ofworld GDP 10% ofliquidity Perhaps a more sustainable model Power Money 9% of world GDP 1% of liquidity Source: New Monetarism - The pyramid of liquidity, BIS website Structural Change in Global Banking System Global Liquidity – How Much will Evaporate? Evaporating shadow banking liquidity • Shadow banking liquidity evaporating. Can traditional funding replaced the lost liquidity? • High-power money through monetizing CBs’ balance sheet. • When velocity of money kick in, we could see assets prices inflating again.
สรุปภาวะการเคลื่อนไหวของดัชนีราคาหุ้นในไตรมาสที่ 2/2552 • การหดตัวของเศรษฐกิจโลกชะลอลง และมีความชัดเจนเกี่ยวกับสถานะของสถาบันการเงินของสหรัฐอเมริกาเพิ่มขึ้น ภายหลังจากการทำ Stress test จึงทำให้เกิดการปรับฐานของดัชนีหลักทรัพย์ทั่วโลกในช่วงเดือนเมษายนและพฤษภาคม และนักลงทุนต่างประเทศกลับมาลงทุนสุทธิ • อย่างไรก็ดี สภาวะเศรษฐกิจยังอ่อนไหว และยังไม่มีสัญญาณการฟื้นตัวที่ชัดเจน ส่งผลให้การปรับตัวเป็นไปในลักษณะ Overshoot ก่อนที่จะปรับตัวลดลงในช่วงสุดท้ายของไตรมาส SET Dow Jones MSCI Asia ex Japan การเคลื่อนไหวดัชนีตลาดหลักทรัพย์ * ข้อมูล ณ วันที่ 27 กรกฎาคม 2552; หน่วย: จุด MSCI Europe Net Purchase ของนักลงทุนต่างประเทศ ข้อมูล ณ วันที่ 27 กรกฎาคม 2552 หมายเหตุ: * ดัชนีทั้งหมดปรับฐานเป็น 100 จุด โดยใช้วันที่ 2 มกราคม 2551 เป็นวันฐาน ที่มา: Bloomberg ที่มา: SETSMART
Historical P/E Ratio ประมาณการ อัตราส่วนราคาต่อกำไรสุทธิของตลาดหุ้นในเอเชีย ณ สิ้นปี 2552 ข้อมูล ณ วันที่ 27 กรกฎาคม 2552; หน่วย: เท่า Forward P/E Ratio แม้ว่า Historical P/E ratio ของไทยได้ปรับขึ้นไปสูง แต่ Forward P/E ratio ณ สิ้นปีจะอยู่ในระดับต่ำกว่าประเทศเพื่อนบ้าน ทำให้อาจจะได้รับความสนใจจากนักลงทุนต่างประเทศเพิ่มขึ้น หมายเหตุ: Forward P/E ratio เป็นการคำนวณจาก การนำมูลค่าตลาด ณ เวลาปัจจุบัน หารด้วย ประมาณการผลประกอบการ ณ สิ้นปี 2552 ที่ดีที่สุด ที่มา: Bloomberg
แนวโน้มเศรษฐกิจและความเสี่ยงแนวโน้มเศรษฐกิจและความเสี่ยง • คาดว่า เศรษฐกิจไทยในปี 2552 จะหดตัวมากกว่าที่คาดไว้จากผลของข้อมูลจริงในไตรมาสแรกที่หดตัวแรงกว่าที่คาดไว้ • เริ่มมีสัญญาณการปรับตัวในทิศทางที่ดีขึ้น และเมื่อมองไปข้างหน้า เศรษฐกิจมี Momentum ดีขึ้นกว่าที่คาดไว้ • ยังไม่มีแรงกดดันต่อเงินเฟ้อ เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจโลกยังคงอ่อนตัว ประกอบกับมีการขยายเวลา 5 มาตรการของภาครัฐไปถึงสิ้นปี • ความเสี่ยงที่สำคัญ • การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก • การเบิกจ่ายของภาครัฐ • ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ • ราคาน้ำมัน
สรุปผลประมาณการล่าสุดของ ธปท. ( ) ประมาณการในรายงานแนวโน้มเงินเฟ้อเดือนเมษายน 2552
Fan Chart อัตราเงินเฟ้อทั่วไปสมดุลตลอดช่วงประมาณการ การคาดการณ์อัตราเงินเฟ้อทั่วไปที่ปรับปัจจัยเสี่ยง การเปลี่ยนแปลงจากระยะเดียวกันปีก่อน (%) 2550 2551 2552 2553 2554 หมายเหตุ: แผนภาพรูปพัด (Fan Chart) ครอบคลุมโอกาสที่จะเกิดขึ้นร้อยละ 90
สรุป • เศรษฐกิจไทยน่าจะผ่านจุดต่ำสุดในไตรมาสที่ 2 นี้ และมีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นในช่วงครึ่งหลังของปีและในปีหน้าจากการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐและการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก • อย่างไรก็ตาม ยังมีปัจจัยเสี่ยงที่ต้องระมัดระวัง โดยเฉพาะคุณภาพและประสิทธิผลของมาตรการของภาครัฐและความเชื่อมั่นของนักลงทุน • อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในช่วงต่อไปจะขึ้นอยู่กับความสามารถในการกระตุ้นอุปสงค์ในประเทศของภาคเอกชนเพื่อมาทดแทนการส่งออกซึ่งไม่น่าจะขยายตัวสูงมากเหมือนช่วงก่อนวิกฤต • จะทำได้ต้องสร้างบรรยากาศการลงทุนที่เหมาะสมและเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตเป็นหลัก