390 likes | 667 Views
ADMM for ASEAN Security. 23 May 2555 Palm Beach Pattaya. จุดเริ่ม ASEAN. Association of Southeast Asian Nations (ASEAN) สมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก่อตั้งโดยปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เมื่อ 8 สิงหาคม 1967 (พ.ศ. 2510). วัตถุประสงค์ของอาเซียน.
E N D
ADMM for ASEAN Security 23 May 2555 Palm Beach Pattaya
Association of Southeast Asian Nations (ASEAN) สมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก่อตั้งโดยปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เมื่อ 8 สิงหาคม 1967 (พ.ศ. 2510)
วัตถุประสงค์ของอาเซียนวัตถุประสงค์ของอาเซียน • ส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศสมาชิก • ธำรงสันติภาพ เสถียรภาพ ความมั่นคง • เสริมสร้างเศรษฐกิจและความอยู่ดีกินดีของประชาชน • พัฒนาสังคมและวัฒนธรรม • ส่งเสริมความร่วมมือกับภายนอก (อาเซียน) และองค์การระหว่างประเทศต่างๆ
ASEAN Vision • ความสมานฉันท์แห่งภูมิภาค A Concert of Southeast Asian Nations • หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา ก้าวหน้าอย่างมีพลวัต A Partnership in Dynamic Development • ชุมชนแห่งสังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน A Community of Caring and Sharing Societies • มุ่งปฏิสัมพันธ์กับประเทศภายนอก An Outward-Looking ASEAN
ความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับประเทศนอกภูมิภาคความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับประเทศนอกภูมิภาค U.S.A. Australia Russia Canada ASEAN New Zealand China Republic of Korea E.U. Japan India
ระเบียบทางการเมืองหลังสงครามเย็นระเบียบทางการเมืองหลังสงครามเย็น • ความขัดแย้งในกัมพูชายุติลง • การประชุมรัฐมนตรีASEAN(AMM) เป็นกลไกร่วมหารือระหว่างสมาชิก 10 ประเทศของอาเซียน
ระเบียบทางความมั่นคงหลังสงครามเย็นระเบียบทางความมั่นคงหลังสงครามเย็น • ทวิภาคี ไปสู่ พหุภาคี • แนวคิดความมั่นคงจากการร่วมมือ (Cooperative Security) • จัดตั้ง ARF (ASEAN Regional Forum) หารือความมั่นคงอาเซียนกับประเทศคู่เจรจาของอาเซียน(Dialogue Partners)
การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือทางด้านการเมืองและความมั่นคง ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ASEAN Regional Forum (ARF) • วัตถุประสงค์ • ดำรงสันติภาพ และเสถียรภาพ • สร้างการพัฒนาและความรุ่งเรือง • เครื่องมือ • มาตรการสร้างความเชื่อมั่น • การทูตเชิงป้องกัน • การจัดการความขัดแย้ง • ใช้ฉันทามติ
ARF • วัตถุประสงค์ • ดำรงสันติภาพ และเสถียรภาพ • สร้างการพัฒนาและความรุ่งเรือง • เครื่องมือ • มาตรการสร้างความเชื่อมั่น • การทูตเชิงป้องกัน • การจัดการความขัดแย้ง • ใช้ฉันทามติ
การจัดตั้งประชาคมอาเซียน(ASEAN Community) ธ.ค. 2540 ผู้นำอาเซียนได้รับรองเอกสาร "วิสัยทัศน์อาเซียน 2020" เพื่อมุ่งพัฒนาอาเซียนไปสู่ "ประชาคมอาเซียน" (ASEAN Community) 1 มี.ค. 2552 ที่ประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 14 ที่ ชะอำ หัวหินผู้นำอาเซียนได้ลงนามรับรอง “ปฏิญญาชะอำ หัวหินว่าด้วยแผนงานจัดตั้งประชาคมอาเซียน(ค.ศ. 2009-2015)” เพื่อจัดตั้งประชาคมอาเซียนภายในปี 2558
ASEAN Community 2015 ประชาคมการเมือง และความมั่นคงอาเซียน ASEAN Politicaly-Security Community ประชาคมสังคม และวัฒนธรรมอาเซียน ASEAN Socio-Cultural Community ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community
1.เป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว (single market and production base) 2.มีความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ 3.มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4.สามารถบูรณาการเข้ากับระบบเศรษฐกิจโลก 5.เกิดการรวมตัวทางเศรษฐกิจและอำนวยความสะดวกในการติดต่อค้าขายระหว่างกัน 6.เกิดการไหลเวียนอย่างเสรีของ สินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน การพัฒนาทางเศรษฐกิจ 7.ลดปัญหาความยากจนและความเหลื่อมล้ำทางสังคม 8.ลดช่องว่างการพัฒนาระหว่างประเทศสมาชิก 9.ส่งเสริมความร่วมมือในนโยบายการเงินและเศรษฐกิจมหภาค ตลาดการเงินและตลาดทุน การปะกันภัยและภาษีอากร การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและการคมนาคม 10.พัฒนาความร่วมมือด้านกฎหมาย การเกษตร พลังงาน การท่องเที่ยว 11.พัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยการยกระดับการศึกษาและการพัฒนาฝีมือแรงงาน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
1.เป็นประชาคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง1.เป็นประชาคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง 2.มีสังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน 3.มีการพัฒนาในทุกด้านเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต 4.ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน 5.ส่งเสริมอัตลักษณ์อาเซียน ประชาคมสังคม และวัฒนธรรมอาเซียน
1.มีกฎ กติกา เป็นพื้นฐานภายใต้ค่านิยมร่วมกัน 2.มีความสงบสุขและรับผิดชอบร่วมกันในการรักษาความมั่นคง สำหรับประชาชนที่ครอบคลุมอย่างรอบด้าน 3.มีพลวัตและมีปฏิสัมพันธ์กับประเทศนอกอาเซียน 4.มุ่งให้ประเทศในภูมิภาคอยู่ร่วมกันอย่างสันติ 5.มีระบบแก้ไขความขัดแย้ง ระหว่างกันได้ด้วยดี 6.มีเสถียรภาพอย่างรอบด้าน 7.มีกรอบความร่วมมือสำหรับภัยคุกคามความมั่นคงทั้งรูปแบบเดิม และรูปแบบใหม่ เพื่อให้ประชาชนมีความปลอดภัยและมั่นคง ประชาคมการเมือง และความมั่นคงอาเซียน
เสาการเมืองความมั่นคงเสาการเมืองความมั่นคง • กลาโหม • มหาดไทย • แรงงาน • สำนักงานตำรวจ • แห่งชาติ • อัยการสูงสุด • คณะกรรมการสิทธิ • มนุษยชน • สมาคมอาเซียน-ปทท. • CSCAP • ฯลฯ • เสาเศรษฐกิจ • พาณิชย์ • การคลัง • เกษตรและสหกรณ์ • พลังงาน • อุตสาหกรรม • เทคโนโลยีสารสนเทศ • และการสื่อสาร • การท่องเที่ยวและกีฬา • ฯลฯ • เสาสังคมและวัฒนธรรม • การท่องเที่ยวและกีฬา • ศึกษาธิการ • วัฒนธรรม • การพัฒนาสังคมและ • ความมั่นคงมนุษย์ • วิทยาศาสตร์และ • เทคโนโลยี • สาธารณสุข • ฯลฯ
โครงสร้างใหม่ภายใต้กฎบัตรอาเซียนโครงสร้างใหม่ภายใต้กฎบัตรอาเซียน การประชุมสุดยอดอาเซียน(ASEAN SUMMIT) คณะมนตรีประสานงานอาเซียน(ACC) คณะมนตรี ประชาคมการเมืองและความมั่นคง คณะมนตรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน คณะมนตรีประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียน เฉพาะสาขา เช่น การประชุมรัฐมนตรีกลาโหม (ADMM) องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียน เฉพาะสาขา เช่น ที่ประชุมรัฐมนตรีด้านการคลังอาเซียน (AFMM) องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา เช่น ที่ประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านสวัสดิการสังคมและการพัฒนา (AMMSWD) คณะเจ้าหน้าที่อาวุโส คณะเจ้าหน้าที่อาวุโส คณะเจ้าหน้าที่อาวุโส
กลไกการประชุม ADMM การประชุมระดับรัฐมนตรี ปฏิญญาร่วม (joint declaration) เอกสารแนวความคิด (concept paper) แผนปฏิบัติการ (work programme) ADMM แบ่งออกเป็น 2 เวที 1. ASEAN Defence Senior Officials’ Meeting (ADSOM) ระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส (ปลัดกระทรวงกลาโหม หรือเทียบเท่า) มีหน้าที่หลักคือ เตรียมการสำหรับ การประชุม ADMM 2. การประชุม ADMM Working Group (WG) จะร่วมกันกำหนดหัวข้อการหารือเตรียมการด้านเอกสารที่เกี่ยวกับการประชุมรวมทั้งด้านธุรการอื่นๆ
ASEAN Defence Ministers’ Meeting-Plus: ADMM-Plus การประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนและบทบาทของประเทศมหาอำนาจ • การแสวงหาความร่วมมือจากกลาโหมของประเทศนอกภูมิภาค เพื่อระดมความเชี่ยวชาญ มุมมอง และทรัพยากรต่างๆ จากประเทศอื่นๆ นอกภูมิภาคอันจะช่วยเสริมสร้างศักยภาพของประเทศสมาชิกอาเซียนโดยรวม • โดยมีประเทศคู่เจรจาจำนวน 8 ประเทศ คือ ออสเตรเลีย จีน อินเดีย ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ เกาหลีใต้ รัสเซีย และสหรัฐฯ กระทรวงกลาโหมเวียดนามเป็นเจ้าภาพ จัดการประชุม ADMM-Plus ครั้งที่ 1
ADMM-Plus การจัดตั้งคณะทำงานผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน (Experts’ Working Groups: EWGs) ทั้ง 5 ด้านในกรอบการประชุม ADMM-Plus 1. คณะทำงานผู้เชี่ยวชาญด้านการให้ความช่วยเหลือ ด้านมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบัติ (Experts’ Working Group on Humanitarian Assistance and Disaster Relief: HADR) ซึ่งมีเวียดนามและจีนเป็นประธานร่วม 2. คณะทำงานผู้เชี่ยวชาญด้านความมั่นคง ทางทะเล (Experts’ Working Group on Maritime Security) ซึ่งมีมาเลเซียและ ออสเตรเลียเป็นประธานร่วม
3. คณะทำงานผู้เชี่ยวชาญด้านการปฏิบัติการรักษาสันติภาพ (Experts’ Working Group on Peacekeeping Operations) มีฟิลิปปินส์และนิวซีแลนด์เป็นประธานร่วม 4. คณะทำงานผู้เชี่ยวชาญด้านการแพทย์ทางทหาร (Experts’ Working Group on Military Medicine) มีสิงคโปร์และญี่ปุ่นเป็นประธานร่วม 5. คณะทำงานผู้เชี่ยวชาญด้านการต่อต้านการก่อการร้าย (Experts’ Working Group on Counter-Terrorism) ซึ่งมีอินโดนีเซียและสหรัฐฯ เป็นประธานร่วม
ประเทศมหาอำนาจกับADMM และ ADMM- Plus • จีนและสหรัฐฯเป็นประธานร่วมในคณะทำงานผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน (EWGs) • เวียดนามและจีนเป็นประธานร่วมในคณะทำงานผู้เชี่ยวชาญด้านการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบัติ (EWG on HADR) • อินโดนีเซียและสหรัฐฯ เป็นประธานร่วมในคณะทำงานผู้เชี่ยวชาญด้านการต่อต้านการก่อการร้าย (EWG on Counter-Terrorism)
การประชุม ADMM ครั้งที่ 1 • กรุงกัวลาลัมเปอร์ มาเลเซีย เมื่อวันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๔๙ • วัตถุประสงค์ของการประชุมได้แก่ 1) เสริมสร้างสันติภาพและความมั่นคงในภูมิภาค ผ่านกลไกการหารือและความร่วมมือด้านความมั่นคง 2) ให้คำแนะนำและแนวทางต่อเวทีการหารือและความร่วมมือที่มีอยู่แล้วของเจ้าหน้าที่ระดับสูง ภายในกลุ่มประเทศอาเซียน และระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนกับประเทศอื่นๆ 3) สนับสนุนความไว้วางใจ และความเชื่อมั่นระหว่างกัน โดยการสร้างความโปร่งใส และเปิดเผย 4) เป็นแนวทางสำหรับการจัดตั้งประชาคมความมั่นคงอาเซียน ตามที่ระบุไว้ในปฏิญญาบาหลีว่าด้วยข้อตกลงอาเซียนฉบับที่ ๒ (Bali Declaration of ASEAN Concord II) และเพื่อสนับสนุนแนวทางตามแผนปฏิบัติการที่ประกาศไว้ที่เวียงจันทน์
การประชุม ADMM ครั้งที่ 2 • ประเทศสิงคโปร์ เมื่อวันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ • ได้รับรองเอกสารสำคัญ ๓ ฉบับ ได้แก่ เอกสารกำหนดหลักการและแนวทางในการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน (Protocol to the Concept Paper for the Establishment of the ADMM), แผนปฏิบัติงาน ๓ ปี (ADMM 3 – year Work Programme) และเอกสารกำหนดหลักการและแนวทางในการประชุมระหว่างรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนกับรัฐมนตรีกลาโหมของประเทศคู่เจรจา (ADMM-Plus Concept Paper) • ร่วมกันลงนามในร่างปฏิญญาร่วม ADMM (ADMM Joint Declaration) โดยมีสาระสำคัญในการส่งเสริมความร่วมมือ และการหารือด้านความมั่นคง โดยเน้นการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ ความโปร่งใส และเปิดเผย ทั้งนี้ยังคงยึดมั่นในหลักการไม่แทรกแซงกิจการภายในซึ่งกันและกัน หลักฉันทามติ และความเคารพในหลักอธิปไตย
การประชุม ADMM ครั้งที่ 3 • จัดขึ้นเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2552 ณ เมืองพัทยา • เอกสารสำคัญ 3 ฉบับ ได้แก่ 1) เอกสารแนวความคิดเรื่องการใช้ทรัพยากรและศักยภาพทางทหารอาเซียนในการให้ความช่วยเหลือทางมนุษยธรรม และการบรรเทาภัยพิบัติ 2) เอกสารแนวความคิดเรื่องหลักเกณฑ์สำหรับสมาชิกภาพการประชุมระหว่างรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนกับรัฐมนตรีกลาโหมของประเทศคู่เจรจา ซึ่งยกร่างโดยกระทรวงกลาโหมไทยร่วมกับกระทรวงกลาโหมสิงคโปร์ 3) เอกสารแนวความคิดเรื่องความร่วมมือระหว่างกลาโหมอาเซียน กับองค์กรภาคประชาสังคมในด้านความมั่นคงรูปแบบใหม่
การประชุม ADMM ครั้งที่ 4 • ประชุม เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2553 ณ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม • รับรองเอกสารสำคัญเกี่ยวกับการจัดตั้งการประชุม ADMM - Plus จำนวน 2 ฉบับ กล่าวคือ 1) เอกสาร เรื่อง รูปแบบและองค์ประกอบของการประชุม ADMM - Plus (ADMM-Plus: Configuration and Composition) ซึ่งยกร่างโดยกระทรวงกลาโหมไทยร่วมกับกระทรวงกลาโหมสิงคโปร์ 2) เอกสารเรื่องวิธีการและกระบวนการของการประชุม ADMM – Plus (ADMM-Plus: Modalities and Procedures) ซึ่งยกร่างโดยกระทรวงกลาโหมสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามร่วมกับกระทรวงกลาโหมสิงคโปร์
การประชุม ADMM – Plus • การประชุม ADMM – Plus ครั้งที่ 1 ณ กรุงฮานอย สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2553 ขึ้นเป็นครั้งแรก ประกอบไปด้วยประเทศสมาชิกอาเซียน และประเทศคู่เจรจา ในการดึงทรัพยากรและความสามารถที่มีอยู่มาพัฒนาประเทศสมาชิกร่วมกัน โดยริเริ่มความร่วมมือใน 5 ด้าน
การประชุม ADMM – Plus (ต่อ) ประธานร่วมระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนกับประเทศคู่เจรจาดังนี้ • การให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบัติ คือ เวียดนามและจีน • ความมั่นคงทางทะเล คือ มาเลเซียและออสเตรเลีย • การแพทย์ทางทหาร คือ สิงคโปร์และญี่ปุ่น • การต่อต้านการก่อการร้าย คือ อินโดนีเซียและสหรัฐฯ • การปฏิบัติการรักษาสันติภาพ คือ ฟิลิปปินส์และนิวซีแลนด์ • โดยไทยได้เข้าร่วมเป็นคณะทำงานทุกด้าน : แต่งตั้งคณะทำงานผู้เชี่ยวชาญฝ่ายไทย (Thai Experts’ Working Groups : Thai EWGs)
คณะทำงานผู้เชี่ยวชาญฝ่ายไทย (Thai Experts’ Working Groups : Thai EWGs) โดยมีหัวหน้าคณะทั้ง 5 ด้าน ดังนี้ 1) คณะทำงานด้านความมั่นคงทางทะเล มี เจ้ากรมยุทธการทหารเรือ 2) คณะทำงานด้านการปฏิบัติการรักษาสันติภาพ มี ผู้อำนวยการศูนย์รักษาสันติภาพ กรมยุทธการทหาร 3) คณะทำงานด้านการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบัติ มี รองเจ้ากรมกิจการพลเรือนทหาร 4) คณะทำงานด้านการแพทย์ทางทหาร มี รองเจ้ากรมแพทย์ทหารบก และ 5) คณะทำงานด้านการต่อต้านการก่อการร้าย มี ผู้บัญชาการศูนย์ต่อต้านการก่อการร้าย
การประชุม ADMMครั้งที่ 5 • จัดขึ้นเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2554 • ณ กรุงจาการ์ตา สาธารณรัฐอินโดนีเซีย • ที่ประชุมได้รับรองเอกสารสำคัญ ดังนี้ 1) ปฏิญญาร่วมของรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนว่าด้วยการเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้กับกระทรวงกลาโหมอาเซียน เพื่อเผชิญความท้าทาย จากภัยคุกคามด้านความมั่นคงรูปแบบใหม่” 2) แผนปฏิบัติงาน 3 ปี ในกรอบ ADMM ระหว่าง ปี 54 – 56 3) เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตั้งเครือข่ายศูนย์ปฏิบัติการรักษาสันติภาพในกรอบอาเซียน4) เอกสารแนวความคิดว่าด้วยความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศในกรอบอาเซียน
การประชุม ADMM Retreat • สาธารณรัฐอินโดนีเซีย จัดการประชุม ADMM Retreat ขึ้น ในเดือนตุลาคม 2554 ณ เมืองบาหลี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามแผนการดำเนินการ ในกรอบ ADMM และ ADMM – Plus รวมทั้งส่งมอบการเป็นเจ้าภาพการประชุม ADMM อย่างเป็นทางการแก่กัมพูชาในปี 2555
แนวทางการดำเนินการของ กห. การก้าวสู่เป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 1. การปรับปรุงยุทธศาสตร์การป้องกันประเทศ รวมถึงการปรับปรุงแก้ไขกฎระเบียบต่างๆ ของ กห. เพื่อให้สอดคล้องและรองรับ การเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 2. การจัดตั้งกลุ่มงานด้านกฎหมายของ กห. เพื่อศึกษาและวิเคราะห์รูปแบบการระงับ ข้อพิพาทโดยสันติที่มีอยู่ และหรือกลไกอื่น เพิ่มเติมภายใต้กฎบัตรอาเซียน
3. การรายงานกิจกรรมอาเซียนที่มีอยู่แล้ว เช่น การประชุม ผบ.ทหารสูงสุด อาเซียน อย่างไม่เป็นทางการ การประชุม ผบ.เหล่าทัพ อาเซียน การแข่งขันยิงปืนอาเซียน การประชุม จก.ขว.ทหาร อาเซียน อย่างไม่เป็นทางการ การประชุม จก.ยก.ทหาร อาเซียน อย่างไม่เป็นทางการ เป็นต้น ผ่าน บก.ทท. และนำเรียน รมว.กห. ผ่านคณะกรรมการอาเซียน กห. 4. การดำเนินการตามเอกสารแนวความคิดในกรอบ ADMM และ ADMM-Plus ทั้ง 9 ฉบับ ให้เกิดผลเป็นรูปธรรม โดยการจัดทำแผนงานงบประมาณรองรับทั้ง 9 ด้าน และให้รายงาน รมว.กห. ผ่านคณะกรรมการอาเซียน กห.
5. การปรับปรุงกลไกการดำเนินการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และจัดตั้งหน่วยงานที่เกี่ยวกับการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจเพิ่มเติมในกรอบของอาเซียน 6. การปรับปรุงแผนการป้องกันประเทศ และภารกิจของกองกำลังป้องกันชายแดนให้สอดคล้องกับการเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558
7. การเตรียมความพร้อมของหน่วย ยุทโธปกรณ์ บุคลากร ให้มีความเป็นสากลและสามารถรองรับ การแก้ไขปัญหาร่วมกันของอาเซียนในภาพรวม 8. พิจารณาแนวทางด้านการศึกษาและวิจัยเพื่อพัฒนาศักยภาพและความร่วมมือเพื่อยกระดับสู่ กห.อาเซียน และพิจารณาปรับปรุงประสิทธิภาพของหน่วยงานด้านการศึกษาของ กห. เพื่อดำเนินการเชิงรุกทางวิชาการกับประเทศสมาชิกในอาเซียน
9. การพิจารณาแนวทางการปรับปรุงแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปีของ นขต.กห. บก.ทท. และเหล่าทัพ ให้สามารถรองรับแนวทางการดำเนินการของ กห. ต่อการก้าวสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 10. การจัดตั้งกลไกในการขับเคลื่อนความร่วมมือในกรอบอาเซียน และพิจารณาปรับแก้ไขกลไกที่มีอยู่แล้วให้มีความเหมาะสม
ขอขอบคุณการสนับสนุนข้อมูลจากดร. จุลชีพ ชินวรรโณ ดร. สุรชาติ บำรุงสุข ดร. ประภัสสร์ เทพชาตรี พล.ต. ปิยะ ครุฑเวโช หลายๆ ท่านที่ให้คำแนะนำ และ เว็บไซท์ต่างๆ