230 likes | 379 Views
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 255 7. นายชัยวัฒน์ ทองไหม ผู้ช่วยนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา. กลุ่มงานควบคุมโรคห่วงใย อยากเห็นคนไทยสุขภาพดี. การขยายบริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ในประเทศไทย. บุคลากร เริ่ม 2547 ประชาชน เริ่ม 2551. วัตถุประสงค์.
E N D
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557 นายชัยวัฒน์ ทองไหม ผู้ช่วยนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา กลุ่มงานควบคุมโรคห่วงใย อยากเห็นคนไทยสุขภาพดี
การขยายบริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ในประเทศไทย • บุคลากร เริ่ม 2547 • ประชาชน เริ่ม 2551
วัตถุประสงค์ • ลดอุบัติการณ์การเจ็บป่วย และเสียชีวิตจากไข้หวัดใหญ่ ในประชาชนกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อโรคสูง • ลดโอกาสการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดใหญ่ ระหว่างบุคลากรทางการแพทย์ และผู้ป่วยที่มารับการรักษาที่คลินิกของโรงพยาบาล • ลดโอกาสการกลายพันธุ์ของเชื้อไข้หวัดนก ที่อาจทำให้การแพร่กระจายในมนุษย์เป็นได้ง่ายขึ้น
ทำไมต้องใช้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ในประเทศไทย?ทำไมต้องใช้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ในประเทศไทย? เพื่อลดโรค ลดโรคและลดตาย ในประชาชนกลุ่มเสี่ยง รายงานเฝ้าระวังโรค พบ 20,000-50,000 รายต่อปี เสียชีวิต 10 รายต่อปี ลดบุคลากรติดโรค และแพร่ต่อให้ผู้ป่วย • การศึกษาพบ ปอดบวมจากไข้หวัดใหญ่ > 900,000 รายต่อปี และไข้หวัดใหญ่เป็นสาเหตุ 10 % ของการนอนโรงพยาบาล • กลุ่มเสี่ยง: COPD, หอบหืด, โรคหัวใจ ผู้สูงอายุ เด็กเล็ก
กลุ่มเป้าหมาย • ประชาชนทุกกลุ่มอายุ ที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรัง 7 กลุ่มโรค ได้แก่ ปอดอุดกั้นเรื้อรัง, หอบหืด, หัวใจ, • หลอดเลือดสมอง, ไตวาย, มะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัด, เบาหวาน อายุ > 65 ปี /หญิงตั้งครรภ์ > 4 เดือน / เด็กอายุ 6 เดือน - 2 ปี • บุคลากรกลุ่มเสี่ยงตามยุทธศาสตร์ป้องกันแก้ไข และเตรียมพร้อมรับปัญหาโรคไข้หวัดนก และการระบาดของไข้หวัดใหญ่
บุคลากร ประชาชน จำนวนบริการ 11,847 118,807 ขนาดวัคซีน 1 dose/vial 4 doses/vial 1พค.-30 มิย. 2557 1 พค.-30 มิย.57 วันดำเนินการ แผนฯ
แนวทางดำเนินการ สปสช สธ ประชาชน บุคลากร
จัดซื้อ กระจายวัคซีน • ตรวจสอบเป้าหมาย • ชี้แจงแนวทาง • สรุปผลบริการ • ประเมินผล • แนวทางดำเนินการ สธ บุคลากร
แนวทางดำเนินการ สปสช สธ • สนับสนุนการดำเนินการ • จัดทำคู่มือแนวทาง • จัดประชุมชี้แจง • ประชาสัมพันธ์วงกว้าง • เฝ้าระวัง แก้ไขปัญหา • อาการข้างเคียงจากวัคซีน • ติดตามประเมินผล (โดยสำนักตรวจฯ ) • หน่วยบริการให้บริการ • จัดซื้อ กระจายวัคซีน (ผ่าน VMI) • ตรวจสอบเป้าหมาย • จัดแนวทางการให้บริการ • สนับสนุนงบประมาณ • ทั้งในส่วนกลาง และพื้นที่ • ร่วมติดตามประเมินผล • จัดแนวทางการรายงานผลบริการ (ผ่าน website ) ประชาชน
การดำเนินงานของหน่วยบริการในจังหวัดนครราชสีมาการดำเนินงานของหน่วยบริการในจังหวัดนครราชสีมา • จัดประชุมทำความเข้าใจ โรงพยาบาลทุกแห่งทำแผน การให้บริการ และจัดระบบประสานงานการดำเนินงาน และข้อมูลให้แล้วเสร็จ ภายในวันที่ 8-12 พฤษภาคม 2557 • โรงพยาบาลทุกแห่งให้บริการ ภายในวันที่ 14 พฤษภาคม 2557-30มิถุนายน 2557 การฉีดวัคซีนเน้นความปลอดภัย และต้องทำความเข้าใจประชาชนทั้งที่ฉีดวัคซีน และไม่ฉีดวัคซีน ให้มากที่สุด • การฉีดวัคซีนเป็นไปโดยสมัครใจ
การจัดคลินิกบริการและการจัดทำทะเบียนผู้รับบริการการจัดคลินิกบริการและการจัดทำทะเบียนผู้รับบริการ ให้แต่ละอำเภอแต่งตั้งคณะกรรมการและบริหารจัดการในอำเภอตนเอง โดยมีกรอบดังนี้ • จัดบริการในโรงพยาบาล 1. หน่วยบริการฉีดวัคซีนโดยเฉพาะ 2. คลินิก ANC 3. คลินิกเฉพาะโรค 4. คลินิกทั่วไป • ให้กำหนดผู้ประสานงานทุกโรงพยาบาล
การจัดคลินิกบริการและการจัดทำทะเบียนผู้รับบริการการจัดคลินิกบริการและการจัดทำทะเบียนผู้รับบริการ การจัดบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 1.จัดหน่วยบริการฉีดวัคซีนโดยเฉพาะ 2.เตรียมรถยาบาลฉุกเฉิน(EMS)พร้อมเจ้าหน้าที่ ให้กำหนดผู้ประสานงานทุกรพสต.
กรอบแนวทางในการติดตามประเมินผลกรอบแนวทางในการติดตามประเมินผล • การติดตาม (Monitoring) การดำเนินงาน • ระยะก่อนดำเนินการให้บริการฯ • ระยะระหว่างการดำเนินการให้บริการฯ • ระยะหลังดำเนินการให้บริการฯ • การประเมินผล (Evaluation) การให้วัคซีน
กรอบแนวทางในการนิเทศติดตามประเมินผลแบ่งได้เป็น 3 ระยะ คือ • ระยะก่อนดำเนินการให้บริการฯ • การสำรวจและจัดทำทะเบียนประชากรกลุ่มเป้าหมาย • การประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • การอบรมทำความเข้าใจในการจัดบริการ • การประชาสัมพันธ์ • การจัดทำแผนการให้บริการการจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือในการเก็บรักษาวัคซีนในการให้บริการ • แผนการจัดการ AEFI
กรอบแนวทางในการนิเทศติดตามประเมินผล แบ่งได้เป็น 3 ระยะ คือ • ระยะระหว่างการดำเนินการให้บริการฯ • การจัดระบบให้บริการ • การติดตามประชากรกลุ่มเป้าหมายให้มารับบริการ • การติดตามอาการภายหลังได้รับวัคซีน • ระยะหลังดำเนินการให้บริการฯ • ติดตามความครอบคลุมของการให้บริการประชากรกลุ่มเป้าหมาย • ติดตามอัตราการสูญเสียวัคซีนในการให้บริการ
ตัวชี้วัดหลักในการประเมินผล (Evaluation) • อัตราการได้รับวัคซีนของประชากรกลุ่มเป้าหมาย ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 25 • อัตราการสูญเสียวัคซีนในการให้บริการ น้อยกว่าร้อยละ 5
จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับวัคซีนจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับวัคซีน X 100% จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด อัตราการได้รับวัคซีนของกลุ่มเป้าหมาย โดยพิจารณาจาก ข้อมูลที่ได้จากการบันทึกข้อมูลผ่านระบบที่ทางสำนักงาน ประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด (ผ่านระบบเครือข่ายทางคอมพิวเตอร์)และรายงานอื่นๆ ตั้งเป้าหมายของผลการดำเนินงานในครั้งนี้ไว้ คือ มีอัตราการได้รับวัคซีนของกลุ่มเป้าหมาย ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 25
จำนวนวัคซีนที่เบิก-จำนวนคนที่ได้รับวัคซีนจำนวนวัคซีนที่เบิก-จำนวนคนที่ได้รับวัคซีน X 100% จำนวนวัคซีนที่เบิก อัตราการสูญเสียวัคซีนในการให้บริการ (Wastage rate) โดยพิจารณาจาก ข้อมูลที่ได้จากระบบบริหารวัคซีนคงคลัง (ผ่านระบบ VMI) และจำนวนวัคซีนที่ให้บริการในโครงการฯ ตั้งเป้าหมายของผลการดำเนินงานในครั้งนี้ไว้ คือ มีอัตราการสูญเสียวัคซีนในการให้บริการในโครงการฯ ไม่เกินกว่าร้อยละ 5
การควบคุมกำกับและประเมินผลการควบคุมกำกับและประเมินผล 1. ให้ทุกอำเภอ ตรวจสอบความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ทุกเดือน หากพบว่า ไม่บรรลุตามเป้าหมาย ให้พิจารณาหาข้อบกพร่อง ปรับแผนและปรับ กลยุทธ์ในการดำเนินงาน เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด จะรายงานผลการดำเนินงานให้ผู้บริหารทราบในที่ประชุมประจำเดือนทุกเดือนจนกว่าจะเสร็จสิ้นโครงการ
การควบคุมกำกับและประเมินผลการควบคุมกำกับและประเมินผล 2. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอและคลังวัคซีนระดับอำเภอ ตรวจสอบควบคุมกำกับ การเบิก-จ่ายวัคซีนที่ใช้ในงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของสถานบริการในเครือข่ายหลักประกันสุขภาพ เพื่อให้การเบิก-จ่ายวัคซีนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 3. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด นิเทศ ติดตาม ประเมินผลด้านการบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็นคลังวัคซีนระดับอำเภอ ทุกแห่ง และสุ่มสถานบริการในแต่ละอำเภออย่างน้อย 1 แห่ง เพื่อติดตามประเมินผลการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตามแบบประเมินมาตรฐานฯ
การควบคุมกำกับและประเมินผลการควบคุมกำกับและประเมินผล 4. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอและโรงพยาบาลแม่ข่าย (CUP )นิเทศ ติดตามประเมินผลการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของสถานบริการในเครือข่าย ตามแบบประเมินมาตรฐานฯ