620 likes | 1.01k Views
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล. การบัญชีต้นทุน 2. www.kkwind.net. การบัญชีต้นทุน 2. ตอนที่ 12. ผลิตผลพลอยได้ จำเป็นต้องผลิตต่อ(ต่อ). โดย ครูสุภาพ เถื่อนเมือง. สาระการเรียนรู้. ครูสุภาพ เถื่อนเมือง. การบัญชีต้นทุน 2. บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม. 1. ความหมายของผลิตผลร่วม.
E N D
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวลวิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล การบัญชีต้นทุน 2 www.kkwind.net
การบัญชีต้นทุน 2 ตอนที่ 12 ผลิตผลพลอยได้ จำเป็นต้องผลิตต่อ(ต่อ) โดย ครูสุภาพ เถื่อนเมือง
สาระการเรียนรู้ ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2 บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม 1.ความหมายของผลิตผลร่วม 2.วิธีการปันส่วนต้นทุนร่วมให้ ผลิตผล
สาระการเรียนรู้ ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2 บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม 3.การปันส่วนต้นทุนร่วมโดยวิธี จำนวนหน่วย
สาระการเรียนรู้ ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2 บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม 4.การปันส่วนต้นทุนร่วมโดยวิธี แบ่งต้นทุนร่วมตามมูลค่าสุทธิที่ได้รับ
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2 บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม • บอกความหมายของผลิตผลร่วม • ได้ถูกต้อง 2. บอกวิธีการปันส่วนต้นทุนร่วมให้ผลิตผลได้
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2 บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม 3.คำนวณการปันส่วนต้นทุนร่วม โดยวิธีจำนวนหน่วยได้
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2 บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม 4.คำนวณการปันส่วนต้นทุนร่วม โดยวิธีแบ่งต้นทุนร่วมตามมูลค่าสุทธิที่ได้รับได้
บทนำ ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2 บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม ผลิตผลร่วมJoint Product คือผลิตผลที่เกิดขึ้น 2 ชนิดหรือมากกว่า จากกระบวน การผลิตเดียวกันโดยใช้ต้นทุนร่วมกัน ลักษณะที่สำคัญก็คือ ต้นทุนของผลผลิต
ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2 บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม แต่ละชนิดที่ยากจะแยกออกได้ว่าเป็นของผลิตผลหนึ่งผลิตผลใดโดยเฉพาะ การเพิ่มจำนวนการผลิต ผลิตผลใดชนิดหนึ่งจะส่งผลต่อจำนวนผลิตผลชนิดอื่นในสัดส่วนที่มีความสัมพันธ์กัน
ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2 บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม และถ้าลดจำนวนการผลิต ผลิตผลชนิดใดชนิดหนึ่ง จำนวนผลิตผลชนิดอื่นๆ ก็จะถูกลดลง เช่นกัน
ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2 บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม วิธีการปันส่วนต้นทุนร่วมให้ผลิตผล ตามที่ได้กล่าวแล้วเบื้องต้นว่า ต้นทุนร่วมของผลิตผลแต่ละชนิดยากที่จะแยกออกได้ว่าเป็นของผลิตผลชนิดหนึ่งชนิดใดโดยเฉพาะ แต่เมื่อถึงจุดแยกออก
ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2 บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม จุดแยกออก Split-off Point นักบัญชีก็ต้องทราบต้นทุนแต่ละชนิดว่าจะมีราคาเท่าใด (เพื่อกำหนดราคาขาย)ดังนั้นจึงต้องหาวิธีการปันส่วนต้นทุนร่วมให้กับผลิตผลแต่ละชนิด ณ จุดแยกออก โดยใช้วิธีต่างๆดังต่อไปนี้
ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2 บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม 1. วิธีจำนวนหน่วย 2. วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก 3.วิธีแบ่งต้นทุนร่วมตามมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ 4. วิธีแบ่งต้นทุนร่วมตามมูลค่าสุทธิที่จะได้รับที่ปรับปรุงแล้ว
ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2 บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม 1.วิธีจำนวนหน่วย วิธีนี้เป็นวิธีการที่ง่ายที่สุด แต่จะเหมาะสมกับผลิตผลร่วมที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน มีหน่วยนับชนิดเดียวกัน ขนาดน้ำหนักและปริมาณ และราคาของผลิตผลไม่แตกต่างกันมากนัก
ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2 บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม ซึ่งนักบัญชีสามารถนำเอาเกณฑ์จำนวนหน่วยของผลิตผลแต่ละชนิดมาเป็นหลักในการปันส่วนผลิตผลร่วมได้โดยมีหลักเกณฑ์ในการคิดดังนี้
ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2 บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม ต้นทุนปันส่วนร่วมผลิตผลแต่ละชนิด ต้นทุนร่วมx จำนวนหน่วยผลิตผลแต่ละชนิด จำนวนหน่วยผลิตผลร่วมทั้งหมด
บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม บริษัท สามสหายจำกัด ผลิตสินค้า 3 ชนิด ซึ่งเกิดขึ้นโดยต้นทุนการผลิตร่วมกันจำนวน 60,300 บาท ได้สินค้าดังนี้ คือ สินค้า A 600 หน่วย สินค้า B200 หน่วย สินค้า C100 หน่วย รวม 900 หน่วย ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2
ต้นทุนร่วมx จำนวนหน่วยผลิตผลแต่ละชนิด จำนวนหน่วยผลิตผลร่วมทั้งหมด ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2 บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม ต้นทุนปันส่วนร่วมผลิตผลแต่ละชนิด สินค้าA = 60,300x(600/900)= 40,200 สินค้าB = 60,300x(200/900)= 13,400 สินค้าC = 60,300x(100/900)= 6,700
ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2 บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม 2.วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก วิธีนี้เป็นวิธีการที่การผลิตในหนึ่งหน่วยใช้วัตถุดิบไม่เท่ากัน หรือใช้ชั่วโมงแรงงานไม่เท่ากัน หรืออาจเป็นค่าใช้จ่ายในการผลิตที่ไม่เท่ากัน ซึ่งมีผลต่อต้นทุนการผลิตผลร่วมต่อหน่วย
ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2 บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม จึงทำให้วิธีจำนวนหน่วยไม่เหมาะสม จึงควรมีการถ่วงน้ำหนักต้นทุนผลิตผล แต่ละประเภท แล้วจึงนำมาเฉลี่ยเพื่อคำนวณหาต้นทุนต่อหน่วยต่อไป
ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2 บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม ต้นทุนปันส่วนร่วมผลิตผลแต่ละชนิด ต้นทุนร่วมx จำนวนชั่วโมงแรงงานแต่ละชนิด จำนวนชั่วโมงแรงงานร่วมทั้งหมด
บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม บริษัท สามสหายจำกัด ผลิตสินค้า 3 ชนิด ซึ่งเกิดขึ้นโดยต้นทุนการผลิตร่วมกันจำนวน 60,300 บาท ได้สินค้าดังนี้ คือ สินค้า A 600 หน่วย สินค้า B200 หน่วย สินค้า C100 หน่วย รวม 900 หน่วย ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2
บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม ในกระบวนการผลิตสินค้าแต่ละชนิดมีการใช้ชั่วโมงแรงงาน ต่อการผลิตหนึ่งหน่วยแตกต่างกันดังต่อไปนี้ คือ สินค้า A 0.5 ชั่วโมงต่อหน่วย คือ สินค้า B 1.0 ชั่วโมงต่อหน่วย คือ สินค้า C 1.5 ชั่วโมงต่อหน่วย ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2
บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม ผลิตภัณฑ์ หน่วยผลิตได้ ชั่วโมงรวม ชั่วโมงต่อหน่วย 0.5 600 300 A 200 200 1.0 B 100 150 1.5 C รวม 650 ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2
ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2 บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม ต้นทุนปันส่วนร่วมผลิตผลแต่ละชนิด ต้นทุนร่วมx จำนวนชั่วโมงแรงงานแต่ละชนิด จำนวนชั่วโมงแรงงานร่วมทั้งหมด สินค้าA = 60,300x(300/650)= 27,831 สินค้าB = 60,300x(200/650)= 18,554 สินค้าC = 60,300x(150/650)= 13,915
ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2 บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม 3.วิธีตามมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ จากวิธีการปันส่วนตาม 2 วิธีข้างต้นเป็นการปันส่วนเชิงปริมาณโดยพิจารณาจากจำนวนเป็นหลักในการปันส่วน แต่ถ้าผลิตผลที่ผลิตออกมามีความแตกต่างกันมาก การปันส่วนต้นทุนร่วมตามวิธีนี้
ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2 บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม จึงเหมาะสมกับผลิตผลที่มีมูลค่าสุทธิที่จะได้รับค่อนข้างแตกต่างกันโดยนักบัญชีใช้วิธีการนี้ถือว่าต้นทุนสัมพันธ์โดยตรงกับราคาขาย สินค้าที่ขายได้ราคาสูงก็เนื่องจากมีต้นทุนในการผลิตสูง
ต้นทุนร่วมx มูลค่าสุทธิที่จะได้รับแต่ละชนิด มูลค่าสุทธิที่จะได้รับของผลิตผลทั้งหมด ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2 บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม ดังนั้น ราคาของสินค้าจึงเป็นเกณฑ์ในการปันส่วนต้นทุนร่วมโดยมีหลักเกณฑ์ในการคิดดังนี้
ต้นทุนร่วมx มูลค่าสุทธิที่จะได้รับแต่ละชนิด มูลค่าสุทธิที่จะได้รับของผลิตผลทั้งหมด ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2 บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม ต้นทุนปันส่วนร่วมผลิตผลแต่ละชนิด
บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม บริษัท สามสหายจำกัด ผลิตสินค้า 3 ชนิด ซึ่งเกิดขึ้นโดยต้นทุนการผลิตร่วมกันจำนวน 60,300 บาท ได้สินค้าดังนี้ คือ สินค้า A 600 หน่วย สินค้า B200 หน่วย สินค้า C100 หน่วย รวม 900 หน่วย ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2
บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม ผลิตภัณฑ์ร่วม มีจำนวนหน่วย และมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ ต่อหน่วยดังต่อไปนี้ คือ สินค้า A 80 บาท คือ สินค้า B 81 บาท คือ สินค้า C 82 บาท ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2
บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม ผลิตภัณฑ์ จำนวนหน่วย มูลค่าสุทธิ มูลค่าสุทธิ/หน่วย 80 600 4,800 A 200 81 16,200 B 100 8,200 82 C รวม 72,400 ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2
ต้นทุนร่วมx มูลค่าสุทธิที่จะได้รับแต่ละชนิด มูลค่าสุทธิที่จะได้รับของผลิตผลทั้งหมด ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2 บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม ต้นทุนปันส่วนร่วมผลิตผลแต่ละชนิด สินค้าA = 60,300x(48,000/72,400)= 39,978 สินค้าB = 60,300x(16,200/72,400)= 13,493 สินค้าC = 60,300x( 8,200/72,400)= 6,829
ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2 บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม 4.วิธีตามมูลค่าสุทธิที่ได้รับปรับปรุงแล้ว วิธีการนี้มีแนวความคิดเดียวกันกับวิธีการแบ่งต้นทุนร่วมตามมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ แตกต่างกันที่ผลิตผลบางชนิดหรือทุกชนิดจะต้องนำไปผลิตต่ออีกชั้นหนึ่งหรือมากกว่า ผลิตผลยังไม่เป็น
ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2 บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม สินค้าสำเร็จรูป จึงไม่ทราบมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ ณ จุดแยกออก นักบัญชีจึงต้องประมาณมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ ณ จุดแยกออกโดยใช้ราคาที่คาดว่าจะขายได้ของผลิตผลสำเร็จรูปหักด้วยต้นทุนที่ใช้ผลิตต่อแล้วนำไปปันส่วนต้นทุนร่วม
ต้นทุนร่วมx มูลค่าสุทธิที่จะได้รับแต่ละชนิด มูลค่าสุทธิที่จะได้รับของผลิตผลทั้งหมด ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2 บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม ต้นทุนปันส่วนร่วมผลิตผลแต่ละชนิด
บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม บริษัท สามสหายจำกัด ผลิตสินค้า 3 ชนิด ซึ่งเกิดขึ้นโดยต้นทุนการผลิตร่วมกันจำนวน 60,300 บาท ได้สินค้าดังนี้ คือ สินค้า A 600 หน่วย สินค้า B200 หน่วย สินค้า C100 หน่วย รวม 900 หน่วย ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2
บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม ผลิตภัณฑ์ร่วม ไม่มีมูลค่าขาย ณ จุดแยกออกและหลังจากทำต่อ คาดว่าจะขายได้ต่อหน่วยดังนี้ ราคาต่อหน่วย ต้นทุนผลิตต่อ คือ สินค้า A 3,000 บ. 90 บ. คือ สินค้า B 1,600 บ. 91 บ. คือ สินค้า C 800 บ. 92 บ. ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2
บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม ผลิตภัณฑ์ จำนวนหน่วย ราคาขาย ราคาขาย/หน่วย 90 600 54,000 A 200 91 18,200 B 100 9,200 92 C รวม 81,400 ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2
บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม ผลิตภัณฑ์ ราคาขาย มูลค่าสุทธิ ต้นทุนผลิตต่อ (3,000) 54,000 51,000 A 18,200 (1,600) 16,600 B 9,200 8,400 (800) C รวม 76,000 81,400 (5,400) ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2
ต้นทุนร่วมx มูลค่าสุทธิที่จะได้รับแต่ละชนิด มูลค่าสุทธิที่จะได้รับของผลิตผลทั้งหมด ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2 บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม ต้นทุนปันส่วนร่วมผลิตผลแต่ละชนิด สินค้าA = 60,300x(51,000/76,000)= 40,464 สินค้าB = 60,300x(16,600/76,000)= 13,171 สินค้าC = 60,300x( 8,400/76,000)= 6,665
ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2 บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม บทสรุป ผลิตผลร่วม หมายถึง ผลิตผลที่ เกิดขึ้น 2 ชนิด หรือมากกว่า จาก กระบวนการผลิตเดียวกัน โดยใช้ ต้นทุนร่วมกัน
ผลิตผลร่วม Joint Product ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2 บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม แบ่งวิธีการปันส่วนได้ 4 วิธี คือ 1. จำนวนหน่วย 2. ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก 3. แบ่งตามมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ 4. แบ่งตามมูลค่าสุทธิที่ได้รับปรับปรุงแล้ว
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวลวิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล แบบทดสอบหลังเรียน www.kkwind.net
บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ 1-5 การผลิตสินค้าของบริษัทอบแห้งจำกัด กระบวนการผลิตสินค้า100,000กิโลกรัม จะมีผลิตผลพลอยได้ 10% ต้นทุนผลิต ทั้งสิ้น 800,000 บาท ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2
บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม ต้นทุนเปลี่ยนสภาพ 200,000 บาท ค่า ใช้จ่ายในการขายและบริหาร 50% ของ ต้นทุนเปลี่ยนสภาพ สินค้าหลักขายได้ ราคากิโลกรัมละ 20 บาท ราคาผลิตผล พลอยได้กิโลกรัมละ 3 บาท ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2
ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2 บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม 1.ขายผลิตผลพลอยได้10,000กก.ถือว่าการขายผลิตผลพลอยได้เป็นรายได้อื่น บริษัทขายผลิตภัณฑ์หลักได้50,000กก.บริษัทมีกำไรก่อนหักภาษีเท่าใด ค. 430,000บาท ก. 400,000 บาท ง. 530,000 บาท ข. 415,000 บาท
ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2 บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม 2.ขายผลิตผลพลอยได้5,000กก.ถือว่าการขายผลิตผลพลอยได้ควรนำไปหักจากต้นทุนผลิต ขายผลิตภัณฑ์หลักได้50,000กก.กำไรก่อนหักภาษีเท่าใด ค. 407,500บาท ก. 400,000 บาท ง. 430,000 บาท ข. 415,000 บาท
ครูสุภาพ เถื่อนเมือง การบัญชีต้นทุน 2 บทที่ 3 ผลิตผลพลอยได้ และผลิตผลร่วม 3.ขายผลิตผลพลอยได้10,000กก.ถือว่าการขายผลิตผลพลอยได้ควรนำไปหักจากต้นทุนผลิต ขายผลิตภัณฑ์หลักได้50,000กก.กำไรก่อนหักภาษีเท่าใด ค. 407,500บาท ก. 400,000 บาท ง. 430,000 บาท ข. 415,000 บาท