280 likes | 866 Views
มอบนโยบาย การสร้างพลังสังคมและพลังชุมชนเอาชนะ ยาเสพติด. โดย รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน (นายอรรถพร สิง หวิ ชัย). การประชุมเร่งรัดแผนสร้างพลังสังคมและพลังชุมชนเอาชนะยาเสพติดระหว่างวันที่ ๑๖-๓๑ มกราคม ๒๕๕๖. ภารกิจกรมการพัฒนาชุมชน.
E N D
มอบนโยบาย การสร้างพลังสังคมและพลังชุมชนเอาชนะ ยาเสพติด โดย รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน (นายอรรถพร สิงหวิชัย) การประชุมเร่งรัดแผนสร้างพลังสังคมและพลังชุมชนเอาชนะยาเสพติดระหว่างวันที่ ๑๖-๓๑ มกราคม ๒๕๕๖
ภารกิจกรมการพัฒนาชุมชนภารกิจกรมการพัฒนาชุมชน 1. ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของประชาชน2. ส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากให้มีความมั่นคง มีเสถียรภาพ3. สนับสนุนให้มีการจัดทำและใช้ประโยชน์ข้อมูลสารสนเทศ4. ศึกษา วิจัย การจัดทำยุทธศาสตร์ชุมชน5. ฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาชุมชน 2
สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เป็นเงินประเดิมเริ่มต้น “กองทุนแม่ของแผ่นดิน” กองทุนละ 8,000 บาท โดยมอบให้หมู่บ้านนำไปใช้ประโยชน์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
วัตถุประสงค์กองทุนแม่ของแผ่นดินวัตถุประสงค์กองทุนแม่ของแผ่นดิน
สถานการณ์การใช้ยาเสพติดในหมู่บ้านชนบทสถานการณ์การใช้ยาเสพติดในหมู่บ้านชนบท จากข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช.2ค) ปี 2554 (จัดเก็บทุก 2 ปี) พบว่าในพื้นที่หมู่บ้านชนบทจำนวน 71,137 หมู่บ้าน • มีสถานการณ์ใช้ยาเสพติดในหมู่บ้าน ดังนี้ • หมู่บ้านที่มีปัญหายาเสพติดระดับมาก (มีการใช้และไม่มีการจัดกิจกรรมป้องกันยาเสพติด) 380 หมู่บ้าน (0.53%) • หมู่บ้านที่มีปัญหายาเสพติดระดับปานกลาง 12,137 หมู่บ้าน (17.06%) • หมู่บ้านที่มีปัญหายาเสพติดระดับน้อย 57,809 หมู่บ้าน (81.26%)
สถานการณ์การใช้ยาเสพติดในหมู่บ้านชนบทสถานการณ์การใช้ยาเสพติดในหมู่บ้านชนบท จากข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2 ค.) ปี 2554 ในพื้นที่หมู่บ้านชนบทจำนวน 71,137 หมู่บ้าน มีการจัดกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ดังนี้ • หมู่บ้านที่ดำเนินกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 66,449 หมู่บ้าน (93.41%) • หมู่บ้านที่ไม่ดำเนินกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 4,688 หมู่บ้าน (6.59%)
แนวทางการเสริมสร้างความเข้มแข็งแนวทางการเสริมสร้างความเข้มแข็ง กองทุนแม่ของแผ่นดิน ปี 2556
เป้าหมาย 13,652 กองทุน การตรวจสุขภาพกองทุนแม่ของแผ่นดินโดยชุดปฏิบัติการตรวจสุขภาพฯ • เพื่อจัดเก็บข้อมูลผลการดำเนินงานตลอดจนปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดินในภาพรวม • เพื่อทราบสถานะของกองทุนแม่ของแผ่นดินว่าเข้มแข็งในระดับใด • เพื่อนำข้อมูลมาประกอบการวางแผนพัฒนากองทุนให้สามารถขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์
การส่งเสริมต้นกล้ากองทุนแม่ของแผ่นดินการส่งเสริมต้นกล้ากองทุนแม่ของแผ่นดิน 7.ประชาคมคัดแยกด้วยสันติ 6.จัดตั้งกองทุนแก้ไขปัญหายาเสพติด
ศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดินศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดิน วัตถุประสงค์ • เสริมสร้างให้เกิดศูนย์การเรียนรู้ด้านการแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่ขึ้นเพื่อเป็นตัวอย่างในการถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์แก่พื้นที่อื่นๆ • ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการพัฒนา แลกเปลี่ยน และเผยแพร่องค์ความรู้ในการแก้ไขปัญหายาเสพติด และการบริหารจัดการกองทุนแม่ของแผ่นดิน เป้าหมาย 878 แห่ง อำเภอละ 1 แห่ง กลไก - คณะทำงานขับเคลื่อนกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับอำเภอ และเครือข่ายกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับอำเภอ เป็นผู้คัดเลือกกองทุนแม่ของแผ่นดินดีเด่น (ระดับ A) และสนับสนุนการดำเนินงาน - คณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดินหมู่บ้าน เป็นผู้ดำเนินการจัดตั้งและบริหารงานตามแนวทางที่กำหนด
งบประมาณและแนวทางการเสริมสร้างความเข้มแข็งกองทุนแม่ฯ ปี 2556 ฐานข้อมูล ปี ๒๕๕๕ (2,734,480 บาท) 1. เสริมสร้างความเข้มแข็งกองทุนแม่ของแผ่นดิน 1.1 ประชุมสร้างความเข้าใจเจ้าหน้าที่ (ดำเนินการแล้ว 15-17 พ.ย. 55) 1.2 ฝึกอบรมวิทยากรกระบวนการสร้างความเข้มแข็งกองทุนแม่ฯ (ศูนย์ศึกษาการพัฒนาชุมชน) 2. จัดทำเอกสารจัดการความรู้กองทุนแม่ฯ แก้ปัญหายาเสพติด 1. (จังหวัด) พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับ B และ C 2. (จังหวัด) ประชุมเตรียมหมู่บ้านต้นกล้ากองทุนแม่ของแผ่นดิน 3. (อำเภอ) พัฒนาและขยายผลศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ฯ 4. (อำเภอ) สรุปบทเรียนองค์ความรู้กองทุนแม่ฯ แก้ปัญหายาเสพติด 5. (หมู่บ้าน) ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการหมู่บ้านต้นกล้าฯ (26,230,520 บาท)
หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบปลอดยาเสพติดหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบปลอดยาเสพติด • หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ : • และรักษาคุณภาพหมู่บ้านเดิม เป้าหมายพัฒนา 878 แห่ง รักษาคุณภาพ 3,671 แห่ง ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของคนในชุมชน ผลสำเร็จที่เป็นรูปธรรม • ลดรายจ่าย • เพิ่มรายได้ • ออม • เรียนรู้ • อนุรักษ์ • เอื้ออารีต่อกัน • ไม่มียาเสพติด • ไม่มีคนจน • ไม่มีหนี้นอกระบบ • มีการจัดสวัสดิการชุมชน • มีการอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • มีความปรองดองสมานฉันท์ วัดความสุขมวลรวมของชุมชน (Gross Village Happiness : GVH) 15
การดำเนินงานด้านการป้องกันเยาวชนนอกสถานศึกษาการดำเนินงานด้านการป้องกันเยาวชนนอกสถานศึกษา • สำรวจข้อมูลเยาวชนกลุ่มเสี่ยงนอกสถานศึกษา • สำรวจข้อมูลพื้นที่เสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง • จัดกิจกรรมสำหรับเยาวชน
ข้อสั่งการ • ให้คณะกรรมการกองทุนแม่ฯ ทุกกองทุน ร่วมกับสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอและจังหวัด ดำเนินการดังนี้ 1. ตรวจสุขภาพกองทุนแม่ฯ ใหม่ ให้แล้วเสร็จภายในเดือนมกราคม 2556 2. คัดเลือกหมู่บ้านต้นกล้ากองทุนแม่ฯ ใหม่ จังหวัดละ 20-50 หมู่บ้าน ให้แล้วเสร็จภายในเดือนมกราคม 2556 และนำผลการคัดเลือกหมู่บ้านต้นกล้าฯ เข้าสู่กระบวนการดำเนินกิจกรรมตามแนวทางที่กรมการพัฒนาชุมชนกำหนดให้แล้วเสร็จภายในเดือนเมษายน 2556 3. คัดเลือกกองทุนแม่ของแผ่นดินฯ พัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ฯ ตามแนวทางที่กรมการพัฒนาชุมชนกำหนดให้แล้วเสร็จภายในเดือนมีนาคม 2556 • การพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงปลอดยาเสพติด - ให้กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกท่านให้ความสำคัญและประสานความร่วมมือกับการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงในหมู่บ้าน ชุมชนให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม
ข้อเสนอแนะต่อจังหวัดและผู้เข้าประชุม • สร้างพลังสังคม พลังชุมชน ตามแนวทางสันติวิธี กองทุนแม่ฯ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืน • เน้นการสร้างพลังเยาวชน เพื่อเป็นรากแก้วในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด • ประสานความร่วมมือ บูรณาการทำงานร่วมกันอย่างจริงจัง • ขับเคลื่อนกองทุนแม่ฯ ให้เข้มแข็งเพื่อเป็นกลไกในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างเป็นรูปธรรม • น้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติให้เกิดผลเพื่อความมั่นคงในการดำเนินชีวิต
Q&A ขอบคุณ กองแผนงาน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย โทร/โทรสาร 0 21438917 www.cdd.go.th , E-mail:cddplan1@hotmail.com