770 likes | 2.16k Views
การป้องกันความผิดพลาด Mistake- Proofing. การควบคุมคุณภาพของเสียเป็นศูนย์ ( ZQC ). 1. อะไรทำให้เกิดของเสีย. 2. ระบบ Poka -Yoke. 3. วิธีการใช้งานระบบ Poka - Yoke. ตัวอย่างการนำระบบ Poka - Yoke ไปใช้. 4. 5. หัวข้อที่จะนำเสนอ. 1. 2. 3.
E N D
การป้องกันความผิดพลาด Mistake- Proofing
การควบคุมคุณภาพของเสียเป็นศูนย์ (ZQC) 1 อะไรทำให้เกิดของเสีย 2 ระบบ Poka-Yoke 3 วิธีการใช้งานระบบ Poka- Yoke ตัวอย่างการนำระบบ Poka- Yoke ไปใช้ 4 5 หัวข้อที่จะนำเสนอ
1 2 3 คือ แนวทางในการควบคุมคุณภาพ (QC) เพื่อมุ่งหวังให้ของเสียเป็นศูนย์ ของเสียสามารถป้องกันได้โดยการควบคุมสมรรถนะของกระบวนการให้ดี จนไม่ทำให้เกิดของเสียขึ้นได้ เป็นแนวทางในการป้องกันข้อผิดพลาดไม่ให้ความผิดพลาดลุกลามหรือเปลี่ยนสภาพกลายเป็นของเสีย การควบคุมคุณภาพของเสียเป็นศูนย์ (ZQC)คืออะไร
การควบคุมคุณภาพของเสียเป็นศูนย์ (ZQC)คืออะไร ของเสียเพียงแค่ชิ้นเดียวก็อาจทำให้บริษัทเสียชื่อเสียงได้
เพื่อความพึงพอใจของลูกค้า และความภักดีของลูกค้าที่มีต่อบริษัท ลูกค้า ต้นทุนในการผลิตลดลงทั้งในส่วนของการการกำจัดทำลายของเสีย หรือการแก้ไขชิ้นงาน ต้นทุน สินค้าคงคลัง ไม่ต้องเก็บสินค้าคงส่วนเกินเพื่อสำรองไว้ ทำให้สิ้นเปลืองค่าเก็บรักษา ทำไมต้องทำของเสียให้เป็นศูนย์
ZQC ช่วยให้ทำงานง่ายขึ้นอย่างไร • ระบบ ZQC ใช้เครื่องมือป้องกันการผิดพลาดเพื่อไม่ให้ความผิดพลาดลุกลามกลายเป็นของเสีย • การใช้ความพยายามในการทำงานและการแก้ไขงานลดน้อยลง • การผลิตที่ไม่มีของเสียทำให้ชื่อเสียงของบริษัทดีในสายตาลูกค้า จะทำให้พนักงานรู้สึกว่ามีความมั่นคงด้วย
ZQC ช่วยให้ทำงานง่ายขึ้นอย่างไร ZQC ทำให้การทำงานง่ายขึ้น
วิธีการทำงานไม่เหมาะสมวิธีการทำงานไม่เหมาะสม ผู้ปฏิบัติงาน ความผันแปรในการปฏิบัติการมาก เกินไป เครื่องจักรสึกหรอ การใช้วัตถุดิบชำรุด อะไรทำให้เกิดของเสีย
การปรับปรุงคุณภาพแบบดั้งเดิมการปรับปรุงคุณภาพแบบดั้งเดิม
การปรับปรุงคุณภาพแบบใหม่การปรับปรุงคุณภาพแบบใหม่
การตรวจสอบเพื่อกำจัดของเสียการตรวจสอบเพื่อกำจัดของเสีย การตรวจสอบเพื่อลดของเสีย 1 2 3 3แนวทางการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ การตรวจสอบเพื่อให้พบของเสีย
การตรวจสอบเพื่อการตัดสินใจการตรวจสอบเพื่อการตัดสินใจ มักเกิดขึ้นที่ส่วนท้ายของกระบวนการหรือหลังจากการปฏิบัติการต่างๆ ตรวจพบของเสียหลังจากที่ได้เกิดขึ้นแล้ว Poka-Yoke
การตรวจสอบเพื่อการตัดสินใจทำให้ตรวจพบของเสียการตรวจสอบเพื่อการตัดสินใจทำให้ตรวจพบของเสีย
การตรวจสอบเพื่อป้อนกลับข้อมูลการตรวจสอบเพื่อป้อนกลับข้อมูล การควบคุมคุณภาพด้วยวิธีทางสถิติ(SQC) การตรวจสอบที่กระบวนการถัดไป การตรวจสอบผลิตภัณฑ์ด้วยตัวเอง
การควบคุมคุณภาพด้วยวิธีทางสถิติ (SQC) - เป็นการสุ่มตัวอย่างชิ้นงานหลังกระบวนการเพื่อทำการตรวจสอบว่ายอมรับได้ตามมาตรฐานหรือไม่ - มักมีการทำแผนควบคุมเพื่อติดตามผลการตรวจสอบ
การตรวจสอบที่กระบวนการถัดไปการตรวจสอบที่กระบวนการถัดไป - ผู้ปฏิบัติงานที่อยู่กระบวนการถัดไปจะทำการตรวจสอบชิ้นงานทุกชิ้นที่ถูกส่งมา - ถ้าตรวจพบของเสียจะแจ้งกับผู้ปฏิบัติงานที่อยู่ก่อนหน้าทันที เพื่อแก้ไขก่อนที่จะเกิดของเสียตามมาอีก
การตรวจสอบผลิตภัณฑ์ด้วยตัวเองการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ด้วยตัวเอง - หากผู้ปฏิบัติงานเป็นผู้ตรวจสอบชิ้นงานเองในการตรวจสอบด้วยตัวเองนั้น ผู้ปฏิบัติงานจะทำการชิ้นงานของตัวเองที่เสร็จแล้วว่ามีข้อบกพร่องหรือไม่ - การตรวจสอบด้วยตัวเองทำให้การป้อนกลับข้อมูลเร็วกว่าการตรวจสอบที่กระบวนการถัดไป
การตรวจสอบ 100% การตรวจสอบ ณ แหล่งกำเนิด ใช้Poka-Yoke เพื่อป้องกันข้อผิดพลาด 4 องค์ประกอบของ ZQC การป้อนข้อมูลกลับทันที ช่วยลดเวลาในการปรับปรุงแก้ไข
การตรวจสอบ ณ แหล่งกำเนิด - การดักจับความผิดพลาดและมีการป้อนข้อมูลกลับ ก่อนกระบวนการจะเริ่ม จึงทำให้ความผิดพลาดไม่มีโอกาสกลายเป็นของเสีย - มีการใช้สลักที่ป้องกันการใส่ชิ้นงานกลับด้าน - ใช้สวิตช์เพื่อทำหน้าที่หยุดเครื่องเมื่อชิ้นงานถูกป้อนบน-ล่าง สลับกัน
การตรวจสอบแบบ 100% เป็นการตรวจสอบ ณ แหล่งกำเนิดต่อชิ้นงานทุกๆชิ้น และต่างจากการควบคุมคุณภาพด้วยวิธีการทางสถิติ (SQC) คือ SQC เป็นแค่เพียงการสุ่ม
วงจรการป้อนกลับของข้อมูลวงจรการป้อนกลับของข้อมูล วงจรการป้อนกลับข้อมูลอย่างรวดเร็ว เพื่อแก้ไขข้อผิดพลาดได้ทันที เกิดขึ้นกับวิธีดั้งเดิม เพราะแบบดั้งเดิมมักเกิดขึ้นที่ปลายกระบวนการ ซึ่งความผิดพลาดต่างๆกลายเป็นของเสียไปแล้ว
ระบบ Poka-Yoke ระบบ ZQC ใช้ติดตั้งอุปกรณ์ Poka-Yoke ที่เครื่องจักรเพื่อทำหน้าที่ตรวจสอบ ณ แหล่งกำเนิดและป้อนกลับข้อมูลอย่างรวดเร็วทุกๆครั้งแทนที่จะหวังพึ่งผู้ปฏิบัติงานให้ตรวจสอบความผิดพลาด ราคาของระบบ Poka-Yoke ไม่แพง สร้างขึ้นมาจากชิ้นส่วนที่ไม่ซับซ้อน
Poka -Yoke ควบคุมกระบวนการได้อย่างไร ระบบข้อความจะหยุดเครื่องจักรทันทีเมื่อมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้น
วิธีการใช้งานระบบPoka- Yoke 1.วิธีตรวจสอบการสัมผัส 2.วิธีเทียบกับค่าที่กำหนดไว้ 3. วิธีตรวจสอบขั้นตอนการเคลื่อนไหว
วิธีการใช้งานระบบPoka- Yoke ตัวอย่างของวิธีเทียบค่าที่กำหนดไว้ใช้ในระบบ Poka-Yoke
ประเภทของอุปกรณ์การดักจับใช้งานในระบบ Poka- Yoke
วิธีการใช้งานระบบPoka- Yoke • ตัวอย่างอุปกรณ์การดักจับการสัมผัสทางกายภาพ
อุปกรณ์การดักจับที่ใช้พลังงานอุปกรณ์การดักจับที่ใช้พลังงาน
ตัวอย่างอุปกรณ์การดักจับการเปลี่ยนแปลงสภาวะทางกายภาพตัวอย่างอุปกรณ์การดักจับการเปลี่ยนแปลงสภาวะทางกายภาพ
การป้องกันการเจาะรูผิดตำแหน่งการป้องกันการเจาะรูผิดตำแหน่ง ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง
การป้องกันชิ้นงานที่ยังไม่ถูกกัดไหลเข้าไปในเครื่องจักรการป้องกันชิ้นงานที่ยังไม่ถูกกัดไหลเข้าไปในเครื่องจักร ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง
การป้องกันชิ้นงานกลับด้านการป้องกันชิ้นงานกลับด้าน ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง
การป้องกันเครื่องนับทำงานผิดพลาดการป้องกันเครื่องนับทำงานผิดพลาด ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง
การป้องกันการลืมหยิบแหวนหรือหยิบแหวนซ้อนกันการป้องกันการลืมหยิบแหวนหรือหยิบแหวนซ้อนกัน ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง
การดักจับโบลท์ที่ไม่ถูกทำร่องการดักจับโบลท์ที่ไม่ถูกทำร่อง ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง
การตรวจหาชิ้นงานที่ไม่ถูกเซาะร่องการตรวจหาชิ้นงานที่ไม่ถูกเซาะร่อง ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง