730 likes | 875 Views
ก.พ. – พ.ค.53. ชื่อกลุ่ม. “ดาวจรัสแสง”. คำขวัญ. พัฒนางานอย่างมีคุณค่า แก้ปัญหาด้วยคิวซีซี. ประจำหน่วยงาน. ห้องตรวจโรคผู้ป่วยนอก กองตรวจโรคผู้ป่วยนอก รพ.จันทรุเบกษา กรมแพทย์ทหารอากาศ. โครงสร้างของหน่วยงาน. กรมแพทย์ทหารอากาศ. รพ. จันทรุเบกษา. กองตรวจโรคผู้ป่วยนอก
E N D
ชื่อกลุ่ม “ดาวจรัสแสง”
คำขวัญ พัฒนางานอย่างมีคุณค่า แก้ปัญหาด้วยคิวซีซี
ประจำหน่วยงาน ห้องตรวจโรคผู้ป่วยนอก กองตรวจโรคผู้ป่วยนอก รพ.จันทรุเบกษา กรมแพทย์ทหารอากาศ
โครงสร้างของหน่วยงาน กรมแพทย์ทหารอากาศ รพ.จันทรุเบกษา กองตรวจโรคผู้ป่วยนอก น.อ.ปรีชา เฉลยภาพ หก.กตน.ฯ ห้องตรวจโรคผู้ป่วยนอก
ผู้บริหาร รพ.จันทรุเบกษา พอ. พล.อ.ต.มานิตย์ ศัตรูลี้ผอ.รพ.จันทรุเบกษา พอ. น.อ.วิชัย รุ่งฟ้าแสงอรุณน.บริหารงาน รพ.จันทรุเบกษา พอ. น.อ.ศุภโชค จิตรวาณิชรอง ผอ.รพ.จันทรุเบกษา พอ.
ที่ปรึกษากลุ่ม น.ท.หญิง สุนันท์ ลิ้มสุขนิรันดร์ สมาชิกกลุ่ม น.ต.หญิง จิรพร เกตุแก้ว ประธานฯ น.ต.หญิง สุจิน สัตยวาที สมาชิก น.ต.หญิง บุตรี ปทุมวัฒน์เลขาฯ ร.อ.ธวัชชัย นามวงศ์ สมาชิก ร.อ.อรรถวัฒน์สมโภชน์ สมาชิก ร.ต.หญิง พิลาสินี พันทองหลาง สมาชิก
อายุเฉลี่ย 38 ปี ประสบการณ์การทำงาน เฉลี่ย 14 ปี การศึกษา ป.ตรี-ป.โท ประชุมกลุ่ม ทุกวันพฤ. เวลา 14.00-15.00 น. รวม 8 ครั้ง มีสมาชิกเข้าร่วมประชุม 90 %
ชื่อกิจกรรม ลดจำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ดี
สภาพปัญหา • โรคเบาหวานเป็นโรคที่พบบ่อยอันดับที่3
สภาพปัญหา • ข้าราชการ รร.การบินและครอบครัว เป็นโรคเบาหวาน 53.7 %
สภาพปัญหา • 37 % ของผู้ป่วยควบคุมระดับน้ำตาลไม่ดี • เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง เช่น ไตวาย ตาบอด หัวใจวาย แผลเบาหวาน • ค่าใช้จ่ายสูง
มูลเหตุจูงใจ ผู้ป่วยสามารถคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ใกล้เคียงค่าปกติ ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการดูแลตนเองอย่างถูกต้อง ป้องกันภาวะแทรกซ้อนได้
เป้าหมาย ลดจำนวนผู้ป่วยที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ดี ลง 30 % ภายในระยะเวลาทำกิจกรรม 12 สัปดาห์
แผนการดำเนินการ : วางแผน : ปฏิบัติจริง
การควบคุมระดับน้ำตาลไม่ดีการควบคุมระดับน้ำตาลไม่ดี
แผนภูมิพาเรโต้ก่อนทำกิจกรรมแผนภูมิพาเรโต้ก่อนทำกิจกรรม 100% 91 92.8% เป้าหมายลดลง 30% 7 น้ำตาลสูง น้ำตาลต่ำ
แผนภูมิก้างปลา คน วิธีการ น้ำตาลในเลือดสูง อุปกรณ์
กิน/ฉีดยาไม่ถูกต้อง ผู้ป่วยไม่อ่านฉลากยา ความเคยชิน ฉลากยาตัวเล็ก ตามองไม่ชัด สูงอายุ ญาติไม่มีเวลา ไม่มีคนดูแล ฉลากยาไม่ชัดเจน อยู่คนเดียว ผู้ป่วยไม่เข้าใจคำแนะนำ ฉลากยาหลุด/เลอะเลือน เปียกชื้น ต้องแช่เย็น น้ำตาลในเลือดสูง ผู้ให้คำแนะนำพูดเร็ว วิธีการ วิธีการเก็บรักษายา ไม่ถูกต้อง ความเคยชิน ผู้ป่วยไม่เห็นความสำคัญ สะดวกในการหยิบใช้ อ่านไม่ออก ไม่อ่านคำแนะนำ มองไม่เห็น ผู้ป่วยลืม สูงอายุ ไม่มีคลินิกเบาหวาน ไม่มีผู้ริเริ่ม ไม่เห็นความสำคัญ
น้ำตาลในเลือดสูง ขาดการประสานงาน ไม่มีเครื่องตรวจน้ำตาล ไม่มีแนวทาง ไม่ส่งข้อมูลให้ผู้เกี่ยวข้อง ราคาแพง ไม่เห็นความสำคัญ ขาดการประสานงาน ไม่ส่งต่อหน่วยปฐมภูมิ ไม่มีทีมงาน ไม่ประสานงาน ไม่เห็นความสำคัญ ไม่มีการติดตามผลเลือดที่บ้าน ไม่ติดตามเยี่ยมบ้าน วิธีการ
เจ้าหน้าที่ ไม่มีโอกาสเยี่ยมบ้าน ไม่ทราบพฤติกรรมผู้ป่วย มีเวลาน้อย ซักประวัติไม่ละเอียด ไม่มีการบันทึกในเวชระเบียน น้ำตาลในเลือดสูง ขาดข้อมูล คน
น้ำตาลในเลือดสูง ไม่ออกกำลังกาย ไม่ตระหนักในการดูแลสุขภาพ ไม่ได้รับคำแนะนำ ไม่เห็นความสำคัญ สูบบุหรี่ ไม่เห็นความสำคัญ ไม่ปฏิบัติตามคำแนะนำ ติดบุหรี่ ไม่ได้รับคำแนะนำ ไม่ได้รับคำแนะนำ ดื่มแอลกอฮอล์ กินขนมหวาน ไม่รู้ ไม่มาตรวจตามนัด เคยชิน ลืม ไม่รู้ ไม่มีคนมาส่ง ไม่ได้รับคำแนะนำ ขาดยา กินจุ ไม่เห็นความสำคัญ ลืมกิน ไม่เห็นความสำคัญ ไม่มีคนดูแล ไม่หิว ไม่ได้รับคำแนะนำ ไม่ได้รับคำแนะนำ กินอาหารไม่เป็นเวลา ผู้ป่วย ขาดความรู้ในการดูแลตนเอง คน
ไม่มีเครื่องตรวจน้ำตาลไม่มีเครื่องตรวจน้ำตาล ไม่มีผู้แนะนำ ไม่เห็นความสำคัญ ไม่มีเงินซื้อ ไม่รู้ว่าจำเป็น อุปกรณ์ราคาแพง น้ำตาลในเลือดสูง เปิดบ่อย ไม่ได้ปรับอุณหภูมิ ไม่มีปรอทวัดอุณหภูมิตู้เย็น อุณหภูมิไม่เหมาะสม ตู้เย็นเก็บยา อุปกรณ์ ที่ตั้งไม่เหมาะสม มีของในตู้เย็นมาก
กิน/ฉีดยาไม่ถูกต้อง ผู้ป่วยไม่อ่านฉลากยา ความเคยชิน ฉลากยาตัวเล็ก ตามองไม่ชัด สูงอายุ ญาติไม่มีเวลา ไม่มีคนดูแล ฉลากยาไม่ชัดเจน อยู่คนเดียว ผู้ป่วยไม่เข้าใจคำแนะนำ ฉลากยาหลุด/เลอะเลือน เปียกชื้น ต้องแช่เย็น น้ำตาลในเลือดสูง ผู้ให้คำแนะนำพูดเร็ว วิธีการ วิธีการเก็บรักษายา ไม่ถูกต้อง ความเคยชิน ผู้ป่วยไม่เห็นความสำคัญ สะดวกในการหยิบใช้ อ่านไม่ออก ไม่อ่านคำแนะนำ มองไม่เห็น ผู้ป่วยลืม สูงอายุ ไม่มีคลินิกเบาหวาน ไม่มีผู้ริเริ่ม ไม่เห็นความสำคัญ
น้ำตาลในเลือดสูง ขาดการประสานงาน ไม่มีเครื่องตรวจน้ำตาล ไม่มีแนวทาง ไม่ส่งข้อมูลให้ผู้เกี่ยวข้อง ราคาแพง ไม่เห็นความสำคัญ ขาดการประสานงาน ไม่ส่งต่อหน่วยปฐมภูมิ ไม่มีทีมงาน ไม่ประสานงาน ไม่เห็นความสำคัญ ไม่มีการติดตามผลเลือดที่บ้าน ไม่ติดตามเยี่ยมบ้าน วิธีการ
เจ้าหน้าที่ ไม่มีโอกาสเยี่ยมบ้าน ไม่ทราบพฤติกรรมผู้ป่วย มีเวลาน้อย ซักประวัติไม่ละเอียด ไม่มีการบันทึกในเวชระเบียน น้ำตาลในเลือดสูง ขาดข้อมูล คน
น้ำตาลในเลือดสูง ไม่ออกกำลังกาย ไม่ตระหนักในการดูแลสุขภาพ ไม่ได้รับคำแนะนำ ไม่เห็นความสำคัญ สูบบุหรี่ ไม่เห็นความสำคัญ ไม่ปฏิบัติตามคำแนะนำ ติดบุหรี่ ไม่ได้รับคำแนะนำ ไม่ได้รับคำแนะนำ ดื่มแอลกอฮอล์ กินขนมหวาน ไม่รู้ ไม่มาตรวจตามนัด เคยชิน ลืม ไม่รู้ ไม่มีคนมาส่ง ไม่ได้รับคำแนะนำ ขาดยา กินจุ ไม่เห็นความสำคัญ ลืมกิน ไม่เห็นความสำคัญ ไม่มีคนดูแล ไม่หิว ไม่ได้รับคำแนะนำ ไม่ได้รับคำแนะนำ กินอาหารไม่เป็นเวลา ผู้ป่วย ขาดความรู้ในการดูแลตนเอง คน
ไม่มีเครื่องตรวจน้ำตาลไม่มีเครื่องตรวจน้ำตาล ไม่มีผู้แนะนำ ไม่เห็นความสำคัญ ไม่มีเงินซื้อ ไม่รู้ว่าจำเป็น อุปกรณ์ราคาแพง น้ำตาลในเลือดสูง เปิดบ่อย ไม่ได้ปรับอุณหภูมิ ไม่มีปรอทวัดอุณหภูมิตู้เย็น อุณหภูมิตู้เย็นไม่เหมาะสม ตู้เย็นเก็บยา อุปกรณ์ ที่ตั้งไม่เหมาะสม มีของในตู้เย็นมาก
สาเหตุจากวิธีการ • ผู้ป่วยกินยา/ฉีดยาไม่ถูกต้อง • - ไม่อ่านฉลากยาเนื่องจากเคยชิน, ตามองไม่ชัด • - ไม่เข้าใจคำแนะนำ • - ไม่มีผู้ดูแล • - ฉลากยาไม่ชัดเจน
สาเหตุจากวิธีการ วิธีการแก้ปัญหา จัดระบบให้คำแนะนำโดยพยาบาล หลังจากผู้ป่วยพบแพทย์ เภสัชกรให้คำแนะนำเรื่องการใช้ยาและการเก็บรักษายาอีกครั้งเมื่อรับยา
วิธีการแก้ปัญหา เยี่ยมบ้านโดยทีมสหสาขาวิชาชีพ
วิธีการแก้ปัญหา ประดิษฐ์นวัตกรรม “กระบอกยาลดปัญหา” ช่วยในรายที่ตามองไม่ชัด,ไม่มีผู้ดูแล หรือไม่รู้หนังสือ
ปัญหา จากวิธีการ • เก็บรักษายาไม่ถูกต้อง • - ไม่อ่านคำแนะนำ • - ผู้ป่วยไม่เห็นความสำคัญ • เภสัชกรแนะนำวิธีการเก็บรักษายาแก่ผู้ป่วยเมื่อรับยา • เยี่ยมบ้านโดยทีมและเภสัชกร
ปัญหา จากวิธีการ 3. ไม่มีการติดตามผลเลือดที่บ้าน - ผู้ป่วยไม่มีเครื่องตรวจน้ำตาล - ไม่ส่งต่อสถานีอนามัย • วิธีการแก้ปัญหา • จัดหาเครื่องตรวจน้ำตาลให้ยืมใช้ในกรณีจำเป็น • ส่งต่อสถานีอนามัยในพื้นที่
ปัญหา จากวิธีการ 4. ไม่มีการติดตามเยี่ยมบ้าน - ไม่มีทีมงานสหสาขาวิชาชีพ - ไม่ส่งข้อมูลให้ผู้เกี่ยวข้อง - จนท.ไม่เห็นความสำคัญ • วางแผนเยี่ยมบ้านร่วมกับทีมสหสาขา • กำหนดวงรอบการเยี่ยมบ้าน
วิธีการแก้ปัญหา - ผู้ป่วยที่มีระดับน้ำตาลสูงกว่า 250 มก.%และ/หรือน้ำตาลสะสมเกิน 9 มก.% หรือ น้ำตาลในเลือดต่ำกว่า 60 มก.% หรือมีโรคแทรกซ้อน เยี่ยมบ้านทุก 1 เดือน - ผู้ป่วยที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่า 200 มก.%และ/หรือน้ำตาลสะสมเกิน 8 มก.%และ ฉีดอินซูลิน เยี่ยมบ้าน ทุก 2 เดือน - ส่งต่อสถานีอนามัยให้ติดตามเยี่ยมบ้านต่อจากทีม
วิธีการแก้ปัญหา • ไม่มีคลินิกเบาหวาน • - ไม่มีผู้ริเริ่ม • - ไม่เห็นความสำคัญ จัดตั้งคลินิกเบาหวานทุกวันพฤหัสโดยมีแพทย์อายุรกรรมรับผิดชอบ
สาเหตุจากเจ้าหน้าที่ 1. ไม่ทราบพฤติกรรมผู้ป่วย เนื่องจากขาดข้อมูล ,ซักประวัติไม่ละเอียด, ไม่มีโอกาสเยี่ยมบ้าน 2. มีเวลาให้คำแนะนำน้อย เนื่องจากมี ผป.มาก, ไม่มีผู้รับผิดชอบ - จัดพยาบาล 1 คนทำหน้าที่ให้คำปรึกษา แนะนำกับผู้ป่วยหลังพบแพทย์
วิธีการแก้ปัญหา - ออกแบบบันทึกเยี่ยมบ้านและบันทึกข้อมูลทุกครั้งที่เยี่ยมบ้าน
วิธีการแก้ปัญหา - จัดทำฐานข้อมูลผู้ป่วยเบาหวาน
สาเหตุจากผู้ป่วยและญาติสาเหตุจากผู้ป่วยและญาติ - ขาดความรู้ในการปฏิบัติตน - กินจุ, กินขนมหวาน,กินอาหารไม่เป็นเวลา, สูบบุหรี่, ดื่มแอลกอฮอล์, ไม่ออกกำลังกาย เนื่องจากไม่ได้รับคำแนะนำ ,ไม่เห็นความ สำคัญ - ขาดยา เนื่องจากไม่มาตามนัด,ไม่เห็นความสำคัญ, ไม่มีผู้ดูแล
วิธีการแก้ปัญหา จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์แก่ผู้ป่วยในคลินิกเบาหวาน ทุกเช้าวันพฤหัสบดี เวลา 07.45-08.15 น.
วิธีการแก้ปัญหา • จัดระบบให้คำแนะนำโดยพยาบาลหลังพบแพทย์ • ติดตามเยี่ยมบ้านเป็นระยะ ทุก 1-2 เดือน • ให้พยาบาลโทรศัพท์แจ้งเตือนผู้ป่วยก่อนวันนัด
สาเหตุจากอุปกรณ์ • ผู้ป่วยไม่มีเครื่องตรวจน้ำตาล เนื่องจากไม่เห็นความสำคัญ, ไม่มีเงินซื้อ วิธีการแก้ปัญหา - จัดหาเครื่องตรวจน้ำตาลในเลือดและอุปกรณ์ไว้ให้ผู้ป่วยยืม - ในรายที่ไม่มีปัญหาด้านการเงิน แนะนำให้ซื้อเครื่องตรวจน้ำตาลในเลือดไว้ใช้เอง