1.99k likes | 3.91k Views
โครงการพัฒนาสารสนเทศระบบไฟฟ้าทางภูมิศาสตร์ ระยะที่ 2 (พสฟ.2). โดย สำนักงานโครงการ พสฟ. 2 การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค. โครงการพัฒนาสารสนเทศระบบไฟฟ้าทางภูมิศาสตร์ ระยะที่ 2. แผนการดำเนินโครงการ จัดเตรียมโครงการ ปี 2547-2550 ติดตั้งระบบ ปี 2550 - 2553.
E N D
โครงการพัฒนาสารสนเทศระบบไฟฟ้าทางภูมิศาสตร์ ระยะที่ 2 (พสฟ.2) โดย สำนักงานโครงการ พสฟ.2 การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
โครงการพัฒนาสารสนเทศระบบไฟฟ้าทางภูมิศาสตร์ ระยะที่ 2 • แผนการดำเนินโครงการ • จัดเตรียมโครงการ ปี 2547-2550 • ติดตั้งระบบ ปี 2550 - 2553 ขอบเขตงาน - จัดเตรียมแผนที่ฐาน และจัดทำแผนที่ระบบไฟฟ้าทั่วประเทศ - ติดตั้งระบบฯ ที่ กฟภ.(กฟจ.,กฟอ.) จำนวน 156 แห่ง - ปรับปรุงระบบที่สำนักงานใหญ่และ กฟข. 13 ระบบ วงเงินลงทุน 1,770 ล้านบาท
โครงการพัฒนาสารสนเทศระบบไฟฟ้าทางภูมิศาสตร์ ระยะที่ 2 • วัตถุประสงค์โครงการ เพิ่มประสิทธิภาพระบบงานหลักของ กฟภ. เช่น • การบริการลูกค้า • การออกแบบ • การค้นหาตำแหน่งของลูกค้า • การแก้ไขไฟฟ้าขัดข้อง • การบำรุงรักษาระบบไฟฟ้า • การวิเคราะห์ระบบทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า • การปรับปรุงข้อมูลเครื่องวัดและอุปกรณ์อื่น ๆ
โครงการพัฒนาสารสนเทศระบบไฟฟ้าทางภูมิศาสตร์ ระยะที่ 2 • สถานะดำเนินงาน • ได้มีการลงนามในสัญญาเลขที่ บ.14/2550 ระหว่าง กฟภ. กับ กลุ่มบริษัทธุรกิจค้าร่วม บริษัท อีเอสอาร์ไอ (ประเทศไทย) จำกัด, บริษัท จีไอเอส ดาต้า จำกัด, บริษัท คอนโทรล ดาต้า (ประเทศไทย) จำกัด เมื่อวันที่ 22 มิ.ย. 2550 • วงเงินจ้าง 1,729 ล้านบาท • มีระยะเวลาการดำเนินโครงการฯ 3 ปี ตั้งแต่ มิ.ย. 2550 – มิ.ย. 2553
โครงการพัฒนาสารสนเทศระบบไฟฟ้าทางภูมิศาสตร์ ระยะที่ 2 • อนุมัติแต่งตั้งคณะกรรมการ • อนุมัติ ผวก. ลว. 7 ธ.ค. 2550 แต่งตั้งคณะกรรมการกำกับและดูแล (Steering Committee)ทำหน้าที่กำกับ ควบคุม ดูแล ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินโครงการ รวมถึงพิจารณา ตัดสิน และกำหนดแนวทางแก้ไขปัญหาต่างๆ ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและบรรลุเป้าหมายของโครงการ • อนุมัติ ผวก. ลว. 7 ธ.ค. 2550แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับโครงการจัดซื้อพร้อมติดตั้งระบบภูมิสารสนเทศระบบไฟฟ้า (AM/FM/GIS) • อนุมัติ ผวก. ลว. 24 ก.ค. 2550คณะกรรมการควบคุมงานในแต่ละ กฟข. และการไฟฟ้าชั้น 1 และ 2 • อนุมัติ ผชก.(ว) ลว. 14 ธ.ค. 2550 คณะทำงานจัดการ Backlog ข้อมูลระบบไฟฟ้าของ กฟภ. ทำหน้าที่กำหนดแนวทาง และมาตรฐานการจัดเก็บและปรับปรุงข้อมูล Backlog ข้อมูลระบบไฟฟ้า
โครงสร้างการบริหารโครงการพสฟ.2โครงสร้างการบริหารโครงการพสฟ.2 Steering Committee รผก.(ว), ผชก.(ว), ผชก.(ป1-4), อข. ทุกเขต , อฝ.วร., อฝ.สท., ผชช.12 สรก.(ธว) และ อก.ผร. ผู้อำนวยการโครงการ นายนำชัย หล่อวัฒนตระกูล ผชก.(ว) สำนักงานโครงการ (Project Office & Internal Audit) นายสำเริง ภู่ประกร นางกรรณิกา แสงแก้ว นางสาวชมนารถ รวยอริยทรัพย์ นางสาวกชนันท์ นพพิมาน นางสุนัน หมั่นเจริญ คณะที่ปรึกษาฯ ศูนย์บริการวิชาการ จุฬาฯ ผู้จัดการโครงการ นายวันชัย เพียรผดุงสิทธิ์ ผชช.12 ผู้ช่วยผู้จัดการโครงการ นายกำจร วรวิทย์ อก.ผร. คณะทำงานจัดการข้อมูล นายประจักษุ์ อุดหนุน (หัวหน้า) นางสาวกัลยา ศรีม่วง (เลขา) คณะทำงานกระบวนการธุรกิจ และบริหารการเปลี่ยนแปลง นายกำจร วรวิทย์ (หัวหน้า) นางพิชฎา ดารายน (เลขา) คณะทำงานด้านเทคนิค คณะทำงาน Application and Integration Development นางเสาวลักษณ์ วชิรนภาลัย (หัวหน้า) นายณัฐวัฒน์ หรรษาพิพัฒน์ (เลขา) คณะทำงาน Network & Hardware and System Admin. นางพันธุ์ฑิพย์ กุลแพทย์ (หัวหน้า) นายสุภกร ศรีตุลานนท์ (เลขา)
คณะกรรมการตรวจรับงาน (อฝ.บผ.,รฝ.ปค.(ก.1), รฝ.วร., อก.คข.และ อก.ผฟ.) คณะผู้ควบคุมงาน ส่วนกลาง (ชก.ผร., หผ.บภ., ชผ.สภ. และ วศก.5 กผร.) คณะผู้ควบคุมงาน กฟน.1 (อฝ.ปค., อก.วบ., ผจก.) คณะผู้ควบคุมงาน กฟฉ.1 (อฝ.ปค., อก.วบ., ผจก.) คณะผู้ควบคุมงาน กฟก.1 (อฝ.ปค., อก.วบ., ผจก.) คณะผู้ควบคุมงาน กฟต.1 (อฝ.ปค., อก.วบ., ผจก.) คณะผู้ควบคุมงาน กฟต.2 (อฝ.ปค., อก.วบ., ผจก.) คณะผู้ควบคุมงาน กฟน.2 (อฝ.ปค., อก.วบ., ผจก.) คณะผู้ควบคุมงาน กฟก.2 (อฝ.ปค., อก.วบ., ผจก.) คณะผู้ควบคุมงาน กฟฉ.2 (อฝ.ปค., อก.วบ., ผจก.) คณะผู้ควบคุมงาน กฟต.3 (อฝ.ปค., อก.วบ., ผจก.) คณะผู้ควบคุมงาน กฟน.3 (อฝ.ปค., อก.วบ., ผจก.) คณะผู้ควบคุมงาน กฟก.3 (อฝ.ปค., อก.วบ., ผจก.) คณะผู้ควบคุมงาน กฟฉ.3 (อฝ.ปค., อก.วบ., ผจก.) โครงสร้างการตรวจรับงาน
คณะทำงานจัดการ Backlog ข้อมูลระบบไฟฟ้าของ กฟภ. • ทำหน้าที่กำหนดแนวทาง และมาตรฐานการจัดเก็บและปรับปรุงข้อมูล Backlog ข้อมูลระบบไฟฟ้า • คณะทำงานจัดการ Backlog ข้อมูลระบบไฟฟ้าของ กฟภ. ประกอบด้วย • นายวันชัย เพียรผดุงสิทธิ์ ผชช.12 สรก.(ธว) ประธานคณะทำงาน • อฝ.บก. ทุกเขต คณะทำงาน • อก.คร. ทุกเขต คณะทำงาน • อก.ผป. ทุกเขต คณะทำงาน • ชจก.(ท.) คณะทำงาน • นายวัลลภ กิตติวิวัฒน์ ชฝ.ปค.(ก.2) คณะทำงานและเลขานุการ • นายประจักษุ์ อุดหนุน อก.ผฟ. คณะทำงานและผู้ช่วยเลขานุการ
ที่ปรึกษาโครงการ พสฟ.2 • ได้มีการลงนามจ้างที่ปรึกษาโครงการ สัญญาเลขที่ จ.162/2550 ระหว่าง กฟภ. กับ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 31 ส.ค. 2550 เพื่อช่วยดูแลงาน พสฟ.2 ที่ผู้รับจ้างดำเนินการในด้านต่างๆ ได้แก่ • การบริหารโครงการ • การติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์และ Facility ต่าง ๆ • การจัดทำข้อมูลแผนที่ฐานและข้อมูลระบบไฟฟ้า • การพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศระบบไฟฟ้า • การออกแบบกระบวนการธุรกิจเพื่อสนับสนุนให้การดำเนินงานเป็นรูปธรรมและยั่งยืน • ให้คำปรึกษาอื่นๆ ที่จะเป็นประโยชน์ต่อ กฟภ. ในงานที่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิสารสนเทศระบบไฟฟ้า โดยช่วยติดตาม ตรวจสอบ ให้ข้อเสนอแนะและตรวจรับงานต่าง ๆ ตาม TOR และในระหว่างการดำเนินการของผู้รับจ้าง ต้องช่วยตรวจสอบความถูกต้องด้านเทคนิคและความเหมาะสมในการดำเนินการของผู้รับจ้าง พร้อมทั้งให้ข้อสังเกตและเสนอแนะในการควบคุม ดูแล และบริหารโครงการ • เข้าร่วมในการประชุมระหว่างกฟภ. กับผู้รับจ้าง รวมทั้งเป็นพยานในการตรวจรับและตรวจสอบต่างๆ
ขอบเขตงานโครงการ จัดซื้อพร้อมติดตั้งระบบภูมิสารสนเทศระบบไฟฟ้า ฐานข้อมูล แผนที่ระบบไฟฟ้า ทั่วประเทศ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ 1 3 ระบบงาน โปรแกรมประยุกต์ GIS ฐานข้อมูลแผนที่ฐาน 4 2
ข้อมูลระบบไฟฟ้า เสาไฟฟ้า สายจำหน่ายแรงต่ำ มิเตอร์
แผนกบริการลูกค้า แผนกปฏิบัติการและบำรุงรักษา แผนกมิเตอร์ โครงการ GIS กับงานของ กฟภ. GIS • ปรับปรุงข้อมูลมิเตอร์ แผนกก่อสร้าง • ปรับปรุงผังการออกแบบ และข้อมูลก่อสร้าง • ปรับปรุงข้อมูลอุปกรณ์ระบบไฟฟ้า
งานขยายเขตผู้ใช้ไฟ แผนงาน กฟภ. ผู้ใช้ไฟยื่นคำร้อง พิมพ์แผนผังเพื่อสำรวจ สำรวจ ออกแบบก่อสร้าง จ่ายเงิน แผนกบัญชี • ค้นหาบริเวณที่ต้องการขยายเขต • ออกแบบก่อสร้าง • ประมาณการค่าใช้จ่าย • ปรับแก้ As-built อนุมัติแบบ ปรับแก้ As-built ก่อสร้าง
รื้อถอน เปลี่ยนทดแทน ติดตั้ง งานบำรุงรักษาระบบไฟฟ้า แผนงานบำรุงรักษาระบบไฟฟ้า พิมพ์แผนผังเพื่อบำรุงรักษาอุปกรณ์ ปรับปรุงรายละเอียดอุปกรณ์ Preventive Maintenance (PM) • ค้นหาบริเวณที่ต้องการ PM • ปรับแก้รายละเอียดอุปกรณ์
งานแก้กระแสไฟฟ้าขัดข้องงานแก้กระแสไฟฟ้าขัดข้อง แก้กระแสไฟฟ้าขัดข้อง ผู้ใช้ไฟแจ้ง ไฟฟ้าขัดข้อง พิมพ์ผังจ่ายไฟ/Single Line ปรับปรุงรายละเอียดอุปกรณ์ • ค้นหาบริเวณไฟฟ้าขัดข้อง • ปรับแก้รายละเอียดอุปกรณ์
การเชื่อมโยงระบบ AM/FM/GIS II กฟภ.(กฟจ., กฟอ.) : 156 แห่ง (กฟฟ. 1-2 เดิม) กฟภ.(กฟส., กฟย.) : 754 แห่ง (กฟฟ. 3-4 เดิม)
วิธีการดำเนินงานโครงการวิธีการดำเนินงานโครงการ 6 5 4 3 2 1
วิธีการควบคุม ติดตาม การดำเนินโครงการ
ประโยชน์ที่ กฟภ. จะได้รับ Customerbenefits PEAbenefits
ประโยชน์ของการใช้ GIS • เป็นฐานข้อมูลหลักในการอ้างถึงตำแหน่งของอุปกรณ์ระบบไฟฟ้าต่างๆ ในโครงข่ายระบบไฟฟ้าของ กฟภ. • สามารถค้นหาตำแหน่ง จัดพิมพ์แผนที่/Schematic Diagram และรายงานต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว • การออกแบบในระบบ GIS ทำให้ได้ฐานข้อมูลที่ทันสมัยทันทีหลังการก่อสร้างเสร็จ • สามารถเชื่อมโยงข้อมูลกับระบบ IT อื่นๆ เช่น ERP, CRM • สามารถจัดเตรียมข้อมูลโครงข่ายระบบไฟฟ้าสำหรับระบบ OMS, SCADA
0 6 30 36 12 18 24 แผนการดำเนินงาน เดือนที่ - จัดทำแผนที่ฐาน - ทบทวนความต้องการ - พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ - ติดตั้งอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ / ซอฟต์แวร์ - จัดทำข้อมูลภูมิสารสนเทศระบบไฟฟ้า - ติดตั้งโปรแกรมประยุกต์ - ฝึกอบรม
แผนการดำเนินงาน แผนการสำรวจข้อมูลระบบไฟฟ้า เดือนที่ 12 18 30 36 24 ตาก, แม่ฮ่องสอน, สระแก้ว, นครพนม, มุกดาหาร, เลย, ปทุมธานี, ตราด, ระนอง, พังงา, ยะลา, ปัตตานี, นราธิวาส สุพรรณบุรี อุดรธานี, หนองบัวลำภู, อยุธยา, นครปฐม, ลพบุรี, สระบุรี, ชัยนาท, สิงห์บุรี, ราชบุรี, เพชรบุรี, ชลบุรี, อ่างทอง, ฉะเชิงเทรา, สมุทรสงคราม พะเยา, กำแพงเพชร, น่าน, สกลนคร, ร้อยเอ็ด, กาฬสินธุ์, สุรินทร์, เพชรบูรณ์, ปราจีน, อุทัยธานี, จันทบุรี, กาญจนบุรี, ชุมพร, สุราษฎร์ฯ, ภูเก็ต, เชียงใหม่, ลำพูน, ลำปาง, พิษณุโลก, พิจิตร, อุตรดิตถ์, สุโขทัย, อุบล, ยโสธร, หนองคาย, โคราช, อำนาจเจริญ, ศรีสะเกษ, นครศรีฯ, ตรัง, เชียงราย, แพร่, ชัยภูมิ, ขอนแก่น, นครสวรรค์, บุรีรัมย์, มหาสารคาม, นครนายก, ระยอง, สมุทรสาคร, ประจวบ, กระบี่, สงขลา, สตูล, พัทลุง
การส่งมอบงานในเดือนที่ 6 (งวดที่ 1) • จัดทำแบบจำลองข้อมูล (Data Model) • เอกสารออกแบบโปรแกรมฯ ขั้นต้น • เอกสารการออกแบบฐานข้อมูล • แผนที่ฐานลายเส้น • Metadata ของข้อมูลแผนที่ฐาน • HW/SW ที่สำนักงานใหญ่
การส่งมอบงานในเดือนที่ 12(งวดที่ 2) • ต้นแบบโปรแกรมฯ และคุณสมบัติทางเทคนิค โปรแกรมประยุกต์ 5 ระบบ • HW / SW / Application ที่ • 6 สำนักงานการไฟฟ้าเขต • สำนักงาน กฟจ- กฟย. (ชั้น 1-4 เดิม) (15 จังหวัด) • ข้อมูลภูมิสารสนเทศระบบไฟฟ้าพื้นที่ 15 จังหวัด (สุพรรณบุรี, อยุธยา, นครปฐม, ลพบุรี, เพชรบุรี, อุดรธานี, ชลบุรี, อ่างทอง, สิงห์บุรี, สมุทรสงคราม, หนองบัวลำภู, ฉะเชิงเทรา, สระบุรี, ชัยนาท, ราชบุรี) • การฝึกอบรม
การส่งมอบงานในเดือนที่ 18(งวดที่ 3) • โปรแกรมประยุกต์ 4 ระบบ • HW / SW / Application ที่ • 5 สำนักงานการไฟฟ้าเขต • สำนักงาน กฟจ- กฟย. (ชั้น 1-4 เดิม) (15 จังหวัด) • ข้อมูลภูมิสารสนเทศระบบไฟฟ้าพื้นที่ 15 จังหวัด (พิษณุโลก, อุบลราชธานี, หนองคาย, เชียงใหม่, นครราชสีมา, นครศรีธรรมราช, ยโสธร, สุโขทัย, ลำพูน, ตรัง, พิจิตร, อำนาจเจริญ, ลำปาง, อุตรดิตถ์, ศรีสะเกษ) • การฝึกอบรม
การส่งมอบงานในเดือนที่ 24 (งวดที่ 4) • โปรแกรมประยุกต์ 4 ระบบ • HW / SW / Application ที่ • 1 สำนักงานการไฟฟ้าเขต • สำนักงาน กฟจ- กฟย. (ชั้น 1-4 เดิม) (15 จังหวัด) • ข้อมูลภูมิสารสนเทศระบบไฟฟ้าพื้นที่ 15 จังหวัด (นครนายก, ระยอง, สมุทรสาคร, ประจวบคีรีขันธ์, กระบี่, เชียงราย, สงขลา, ชัยภูมิ, แพร่, นครสวรรค์, สตูล, ขอนแก่น, มหาสารคาม, บุรีรัมย์, พัทลุง) • การฝึกอบรม
การส่งมอบงานในเดือนที่ 30 (งวดที่ 5) • HW / SW / Application ที่ • สำนักงาน กฟจ - กฟย. (ชั้น 1-4 เดิม) (15 จังหวัด) • ข้อมูลภูมิสารสนเทศระบบไฟฟ้าพื้นที่ 15จังหวัด (ปราจีนบุรี, จันทบุรี, กาญจนบุรี, เพชรบูรณ์, ชุมพร, อุทัยธานี, สุราษฎร์ธานี, พะเยา, น่าน, สกลนคร, กาฬสินธุ์, สุรินทร์, ภูเก็ต, กำแพงเพชร, ร้อยเอ็ด) • การฝึกอบรม
การส่งมอบงานในเดือนที่ 36 (งวดที่ 6) • HW / SW / Application ที่ • สำนักงาน กฟจ- กฟย. (ชั้น 1-4 เดิม) (13 จังหวัด) • ข้อมูลภูมิสารสนเทศระบบไฟฟ้าพื้นที่ 13 จังหวัด (ปทุมธานี, ตราด, ระนอง, พังงา, สระแก้ว, นครพนม, มุกดาหาร, เลย, ตาก, แม่ฮ่องสอน, ยะลา, ปัตตานี, นราธิวาส) • การฝึกอบรม
การจัดทำข้อมูลระบบไฟฟ้าการจัดทำข้อมูลระบบไฟฟ้า
การนำเข้าข้อมูลระบบไฟฟ้าการนำเข้าข้อมูลระบบไฟฟ้า ประกอบด้วย 2 วิธี • นำเข้าจากการสำรวจภาคสนาม • นำเข้าจากข้อมูลต้นฉบับของ กฟภ.
1. การนำเข้าข้อมูลจากภาคสนาม • ใช้โปรแกรมประยุกต์ที่พัฒนาขึ้นโดยเฉพาะ • การลงตำแหน่งอุปกรณ์อื่นๆ(ยกเว้นเสา,Manhole) จะมีการลงตำแหน่งโดย Offset เพื่อให้เหมาะสมกับแผนที่มาตราส่วน 1:4,000 และไม่ซ้อนทับกัน เป็นระยะตามที่ระบุไว้ในเอกสาร Data Model ตัวอย่างการ Offset ตำแหน่ง Riser ตัวอย่างการ Offset ตำแหน่งมิเตอร์ ตัวอย่างการ Offset ตำแหน่งสายไฟฟ้า
1. การนำเข้าข้อมูลจากภาคสนาม • รูปแบบหัวเสาที่สำรวจ 1.SP 2.DP 3.SP.AL 4.DP.AL 5.CSC 6.CTB 8.DE 9.DDE 7.CCB 10.DDE.AL 11. BA 14. BA.AL 13. TOWER 14. Don’t Apply
2. การนำเข้าข้อมูลจากข้อมูลต้นฉบับของ กฟภ. • ข้อมูลต้นฉบับที่ กฟภ. ต้องจัดเตรียมให้บริษัทฯ เพื่อนำเข้า
2. การนำเข้าข้อมูลจากข้อมูลต้นฉบับของ กฟภ. • ข้อมูลต้นฉบับที่ กฟภ. ต้องจัดเตรียมให้บริษัทฯ เพื่อนำเข้า (ต่อ)
ข้อมูลที่ส่งมอบให้ กฟภ. • ข้อมูลแผนที่ฐานทั่วประเทศ • แผนที่ลายเส้นโดยใช้ข้อมูลแผนที่ภาพถ่ายออร์โธสีมาตราส่วน 1:4,000 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • ส่งมอบที่กฟภ.สนง.ใหญ่ ในรูปแบบ DVD จำนวน 2 ชุด
ข้อมูลที่ส่งมอบให้ กฟภ. • ข้อมูลระบบจำหน่าย ส่งมอบที่ กฟข. และสนง.ใหญ่ ประกอบด้วย • ที่มาของข้อมูล • ข้อมูลสายใต้ดิน ใต้น้ำ สถานที่ไม่สามารถเข้าถึงด้วยเหตุสุดวิสัย โดยนำเข้าจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่ กฟภ. จัดเก็บ • สำรวจข้อมูลเพิ่มเติมจากสนาม โดยในการสำรวจจะใช้การดูด้วยสายตาเป็นหลัก • ข้อมูลที่ส่งมอบประกอบด้วย • ข้อมูลระบบจำหน่ายไฟฟ้าและสายส่ง และข้อมูลอุปกรณ์ระบบเครือข่ายสื่อสารของกฟภ. ครอบคลุมข้อมูลไฟฟ้าแรงสูง แรงกลางและแรงต่ำ เช่น หม้อแปลง เครื่องวัด เป็นต้น • รายงานคุณภาพ ประกอบด้วย • ข้อมูลทางสถิติเกี่ยวกับข้อมูล Attribute แต่ละชั้นข้อมูล • บริเวณที่ไม่สามารถสำรวจได้ หรือจัดทำไว้บางส่วน • รายงานความแตกต่าง (Gap Analysis) ระหว่างข้อมูลในสนามกับแผนผังที่จัดเตรียม • Metadata • ตามรูปแบบมาตรฐาน ISO19115
ระบบสนับสนุน • งานติดตามโครงการสำหรับการสำรวจข้อมูล (Project Tracking) • สามารถติดตามความคืบหน้าการสำรวจข้อมูลของแต่ละพื้นที่ โดยผ่านทางอินเตอร์เน็ต
ระบบสนับสนุน • ระบบ PAR(Problem and Resolutions) • เพื่อใช้สอบถามปัญหาข้อมูลจากการนำเข้า พร้อมรูปภาพ(ถ้ามี) เข้าไปในระบบ ผ่านอินเตอร์เน็ต • เพื่อให้คณะทำงานที่ได้รับมอบหมายของกฟภ. เป็นผู้ตัดสินใจในการตอบปัญหาต่างๆ • เพื่อรวมรวมปัญหาต่างๆ เหล่านี้ไว้เป็นคู่มือปฏิบัติงาน
ข้อมูล Backlog • กลุ่มบริษัทฯ จะทำการตกลงกับ กฟภ. ในการกำหนด Cut–off date วันที่ออกสำรวจ • หน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องของ กฟภ. เริ่มรวบรวมข้อมูลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในระบบไฟฟ้าของ กฟภ. เพื่อนำเข้าภายหลัง • กลุ่มบริษัทฯ เสนอให้ใช้โปรแกรมประยุกต์เพื่อหมายตำแหน่ง Backlog • แยกประเภทงานเช่น งานที่ต้องสำรวจ และไม่ต้องสำรวจ • งานที่ต้องสำรวจแยกเป็น งานเฉพาะแปลง และหมู่บ้าน • ใช้แผนที่ลายเส้นแผนที่ฐาน ที่กลุ่มบริษัทฯ ส่งมอบ เพื่อในการลงตำแหน่ง ได้รวดเร็ว ตัวอย่างโปรแกรมแสดงงานที่สำรวจ Backlog แล้วเสร็จ และงานคงค้าง
รายการ Hardware/Software ที่ส่งมอบ
โครงการพัฒนาภูมิสารสนเทศระบบไฟฟ้า ระยะที่ 2 PEA Center Database server (1) Backup and Media server (1) Internet map server (1) Inkjet Plotter A0 (1) UPS 15KVA(1) Workstation (30) Firewall Appliance (1) Laser Printer A3 (1) Inkjet Printer A3 (1) Storage 5TB (1) UPS 800 VA (30) GPS (2) Gigabit Switch 24 port (1) Notebook (2) Pocket PC with GPS (2)
โครงการพัฒนาภูมิสารสนเทศระบบไฟฟ้า ระยะที่ 2 PEA Region 12 offices Database server (12) Backup and Media server (12) Internet map server (12) UPS 15KVA(12) Workstation (132) Terminal Server (24) Inkjet Plotter A0 (12) Firewall Appliance (12) Laser Printer A3 (12) Storage 1TB (12) UPS 800 VA (132) Inkjet Printer A3 (12) GPS (24) Gigabit Switch 24 port (12) Notebook (12) Pocket PC with GPS (24)
Inkjet Plotter A1 (156) Switch 16 port (156) Computer Desktop (312) UPS 800 VA (312) GPS (156) Pocket PC with GPS (156) โครงการพัฒนาภูมิสารสนเทศระบบไฟฟ้า ระยะที่ 2 PEA Work of class 156 offices
กฟภ.(กฟจ. – กฟอ.) 156 แห่ง (กฟฟ.1-2 เดิม)