1 / 22

Multi Rotor Flying Object

COE2011-06. Multi Rotor Flying Object. อากาศยาน 4 ใบพัด. ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. โดย นายจักรกริช หล่อประโคน รหัส 513040478-0 นายจักรพรรณ ดีสุด รหัส 513040480-3. อากาศยาน 4 ใบพัด. Multi Rotor Flying Object.

fahim
Download Presentation

Multi Rotor Flying Object

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. COE2011-06 Multi Rotor Flying Object อากาศยาน 4 ใบพัด ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดย นายจักรกริช หล่อประโคน รหัส 513040478-0 นายจักรพรรณ ดีสุด รหัส 513040480-3

  2. อากาศยาน 4 ใบพัด Multi Rotor Flying Object หมายเลยโครงการCOE 2011-06 ผู้รับผิดชอบโครงการ นายจักรกริช หล่อประโคน รหัส 513040478-0 นายจักรพรรณ ดีสุด รหัส 513040480-3 อาจารย์ที่ปรึกษา อ.ดร.วิชชา เฟื่องจันทร์ อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน อ.ดร.วาธิส ลีลาภัทร ผศ.ดร.ดารณี หอมดี

  3. ความสําคัญและที่มาของโครงการความสําคัญและที่มาของโครงการ วัตถุประสงค์และขอบเขตของโครงการ การดําเนินงานโครงการ สรุปโครงการ ปัญหาและข้อเสนอแนะ หัวข้อที่นำเสนอ

  4. ความสําคัญและที่มาของโครงการความสําคัญและที่มาของโครงการ

  5. วัตถุประสงค์ของโครงการวัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อออกแบบและสร้าง Multi Rotor Flying Object ควบคุมผ่านระบบไมโครคอนโทรลเลอร์ 2. เพื่อประยุกต์ใช้งานเซนเซอร์ ได้แก่ Gyroscope และ Accelerometer 3. เพื่อออกแบบและสร้างระบบควบคุมการบินของ Multi Rotor Flying Object ขอบเขตของโครงการ เพื่อพัฒนาเครื่องบินที่สามารถบินลอยนิ่งในอากาศหรือสามารถควบคุมผ่านรีโหมดบังคับได้ และศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการบิน • ผลที่คาดว่าจะได้รับ • 1.ได้เรียนรู้การออกแบบและสร้างระบบไมโครคอนโทรลเลอร์และการใช้งานเซนเซอร์ 2.ได้เครื่องบินสี่ใบพัด ที่สามารถควบคุมได้โดยรีโมทคอนโทรล 3.เพื่อเป็นต้นแบบในการพัฒนาต่อยอดต่อไป

  6. แผนการดําเนินงาน

  7. การดำเนินโครงการ

  8. หลักการควบคุมเครื่องบินหลักการควบคุมเครื่องบิน (Hovering) LEFT Ω+∆ FRONT Ω+∆ (Throttle) (yaw) REAR Ω+∆ RIGHT Ω+∆ (Roll) (pitch)

  9. ทฤษฎีการควบคุม แผนภาพการทำงาน2ndComplementary filter แผนภาพระบบควบคุม

  10. การออกแบบและสร้างต้นแบบการออกแบบและสร้างต้นแบบ • โครงสร้างทางกล • ภาพ โครงสร้างของเครื่องบิน • ที่ออกแบบไว้ • ภาพ โครงสร้างของเครื่องบิน • ที่พัฒนาขึ้น

  11. การออกแบบและสร้างต้นแบบการออกแบบและสร้างต้นแบบ • โครงสร้างทางไฟฟ้า • ภาพ โครงสร้างทางไฟฟ้า • ที่ออกแบบไว้ • ภาพ โครงสร้างทางไฟฟ้า • ที่พัฒนาขึ้น

  12. การออกแบบและสร้างต้นแบบการออกแบบและสร้างต้นแบบ • การประกอบชิ้นส่วน • ภาพ เครื่องบินที่พัฒนาขึ้น

  13. การทำงานของเครื่องบินการทำงานของเครื่องบิน • แผนภาพการทำงานของระบบ • ภาพ การควบคุมทิศทาง

  14. การดำเนินโครงการ (ต่อ)

  15. การพัฒนาโครงการ 1. อ่านข้อมูลจากเซนเซอร์ 1.1 ไจโรสโคป (Gyroscope) 1.2 ตัววัดความเร่ง (Accelerometer) 2. เขียนโปรแกรมบนไมโครคอนโทรลเลอร์ 3. ทดสอบการใช้งานของโปรแกรม 4. การทดลองและประยุกต์ใช้ทฤษฎีที่ที่เกี่ยวข้อง

  16. 2. เขียนโปรแกรมบนไมโครคอนโทรลเลอร์ • อ่านค่าอนาล็อก(Analog) จากไจโรและตัววัดความเร่ง • ส่งข้อมูลจากไมโครคอนโทรเลอร์ไปยังคอมพิวเตอร์โดยใช้สาย Serial • การสั่งงาน PWM (Pulse width modulation) เพื่อไปควบคุมมอเตอร์ผ่านทาง ESC (Electronic speed control) • รับสัญญาณจากตัวรับสัญญาณวิทยุ (Receiver) ซึ่งมีทั้งหมด 4 ช่องสัญญาณ

  17. การทดสอบการทำงานของโปรแกรมการทดสอบการทำงานของโปรแกรม • - สามารถอ่านค่าอนาล็อกของไจโรและตัววัดความเร่งและส่งค่าไปแสดงบนคอมพิวเตอร์ได้ • สามารถควบคุมมอเตอร์แต่ละตัวแยกกันได้ • - อ่านค่าจากตัวรับสัญญาณวิทยุและและนำไปบังคับความเร็วของมอเตอร์แต่ละตัวได้

  18. การทดลองและประยุกต์ใช้ทฤษฎีที่ที่เกี่ยวข้องการทดลองและประยุกต์ใช้ทฤษฎีที่ที่เกี่ยวข้อง ทดลองตัวกรอง Complementary filter deg ms

  19. 4. การทดลองและประยุกต์ใช้ทฤษฎีที่ที่เกี่ยวข้อง

  20. สรุป • ในการออกแบบอากาศยานสี่ใบพัด ที่มีความสมดุลได้นั้นจำเป็นต้องใช้เซนเซอร์ที่ช่วยในการทรงตัวได้แก่ ไจโร และตัววัดความเร่ง ในการใช้งานเซนเซอร์จำเป็นต้องมีการใช้ตัวกรองสำหรับการรวมมุมที่ได้จากเซนเซอร์ทั้งสอง ซึ่งจะทำให้มุมที่ได้มีความถูกต้องสมบูรณ์มากขึ้น สิ่งที่สำคัญที่สุดสำหรับโครงงานนี้ก็คือการทำให้อากาศยานมีความสมดุลทั้งแกน x และแกน y พร้อมกันและต้องไม่เกิดการหมุนวนรอบตัวในทิศ Yaw ผลที่ได้จากการปฏิบัติงานคืออากาศยานสามารถสมดุลได้ในทางแกน x และ แกน y ในการทดสอบ แต่เมื่อมีการใช้งานจริง ในขณะบิน อากาศยานเกิดความไม่สมดุล และเกิดการหมุนในทิศ Yaw

  21. เอกสารอ้างอิง • “Quadcoptor” , International Conference on Smart Manufacturing Application April. 9-11, 2008 in KINTEX, Gyeonggi-do, Korea สืบค้นเมื่อ วันที่ 2 กรกฎาคม2554 • ภาพ ลักษณะการบินของ Quadcoptor , http://diydrones.com สืบค้นเมื่อ วันที่ 2 กรกฎาคม2554 • ภาพ มอเตอร์กระแสตรงแบบไร้แปรงถ่าน (Brushless DC motor) , http://www.bphobbies.com • สืบค้นเมื่อ วันที่18 กรกฎาคม 2554 • ภาพ Electronic Speed Controller: ESC , http://www.silashop.net สืบค้นเมื่อ • วันที่18 กรกฎาคม 2554 • ภาพ ใบพัด GAUI ขนาด 8 นิ้ว http://www.heli-shop.com สืบค้นเมื่อ วันที่18 กรกฎาคม 2554 • ภาพ แบตเตอรี่ Lithium-Polymer 11.1 โวลต์ 2200mAh , http://www.minircflying.com สืบค้นเมื่อ วันที่18 กรกฎาคม 2554 • ภาพ ไมโครคอนโทรลเลอร์ AVR เบอร์ ATMEGA128 ,http://micro- research.co.th สืบค้นเมื่อ วันที่18 กรกฎาคม 2554 • ภาพ 6DOF Razor ไจโคสโคป (Gyroscope) และ ตัววัดความเร่ง (Accelerometer) , • http://www.thaieasyelec.com/ สืบค้นเมื่อ วันที่18 กรกฎาคม 2554 • ภาพ วิทยุควบคุมและเครื่องรับสัญญาณ http://www.chartbin.com/ สืบค้นเมื่อ วันที่18 กรกฎาคม 2554

  22. คำถาม ? ข้อเสนอแนะ

More Related