1.31k likes | 2.1k Views
Ref EM-TB1-G7. แนวทางการวิเคราะห์การใช้พลังงาน ของระบบปรับอากาศจากมาตรวัด และเครื่องมือวัดที่จำเป็น. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. ดำเนินงานโดย. หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็น และวัฎจักรการทำความเย็นของ ระบบปรับอากาศ. 1.1 ความดัน 1.1.1 หน่วยของความดัน 1.1.2 กฏของปาสคาล
E N D
Ref EM-TB1-G7 แนวทางการวิเคราะห์การใช้พลังงาน ของระบบปรับอากาศจากมาตรวัด และเครื่องมือวัดที่จำเป็น กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ดำเนินงานโดย
หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็น และวัฎจักรการทำความเย็นของ ระบบปรับอากาศ 1.1 ความดัน 1.1.1 หน่วยของความดัน 1.1.2 กฏของปาสคาล 1.1.3 ความดันบรรยากาศ 1.1.4 สูญญากาศ 1.1.5 ความดันสมบูรณ์ และความดันเกจ
หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ 1.2 ความร้อนและอุณหภูมิ 1.2.1 ความร้อน 1.2.2 การถ่ายเทความร้อน 1.2.3 หน่วยของความร้อน 1.2.4 ความร้อนสัมผัส และความร้อนแฝง 1.2.5 การอิ่มตัว ความร้อนยิ่งยวดและการเย็นเยือก 1.2.6 อุณหภูมิ 1.2.7 หน่วยของอุณหภูมิ 1.2.8 อุณหภูมิสมบูรณ์ 1.2.9 งาน พลังงาน และกำลังงาน 1.2.10 การเปลี่ยนสถานะของน้ำ
หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ 1.3 วัฏจักรการทำความเย็น 1.3.1 การทำความเย็น และการปรับอากาศ 1.3.2 ภาระความร้อน 1.3.3 สารทำความเย็น 1.3.4 วัฏจักรการทำความเย็น
หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ 1.1 ความดัน (PRESSURE) ความดัน คือ แรงต่อหน่วยพื้นที่ P = F / A
หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ • 1.1.1 หน่วยของความดัน • ระบบเมตริก : kgf / cm2 • ระบบอังกฤษ : lbf / in2 • ระบบ SI : ปาสคาล , Pa (1N / m2)
หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ
หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ • 1.1.3 ความดันบรรยากาศ • บรรยากาศหรืออากาศที่ห่อหุ้มโลกอยู่ มีน้ำหนักและก่อให้เกิดแรง • ดันกระทำต่อผิวโลก แรงดันดังกล่าวเรียกว่า ความดันบรรยากาศ • ความดันบรรยากาศ =1.033 kgf / cm2 • =1 atm • = 760 mm Hg • = 101.3 Pa • =14.70 lbf / in • =29.92 in. Hg • =34 ftw. = 1 bar
หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ 1.1.4 สูญญากาศ • ความดันที่ต่ำกว่าความดันบรรยากาศ • สูญญากาศบางส่วน หมายถึง ความดันที่ต่ำกว่าความดันบรรยากาศ • แต่ไม่เป็นสูญญากาศทั้งหมด • สูญญากาศทั้งหมด หมายถึงความดันซึ่งไม่สามารถลดต่อไปได้อีก
หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ • 1.1.5ความดันสมบูรณ์ และความดันเกจ • ความดันเกจคือ ความดันที่อ่านได้จากเกจวัดความดัน ซึ่งเกจจะวัดเพียงความ • แตกต่างของความดันของของเหลว และความดันบรรยากาศ • kgf / cm2 g , psig • ความดันสมบูรณ์ คือ ความดันทั้งหมดหรือความดันจริง เป็นการนำความดันเกจ • รวมกับความดันบรรยากาศ kgf / cm2 abs., psia
หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ 1.2 ความร้อนและอุณหภูมิ 1.2.1ความร้อน ความร้อน คือ รูปหนึ่งของพลังงาน เกิดจากการ เคลื่อนไหว หรือการสั่นสะเทือนของโมเลกุล
หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ • 1.2.2 การถ่ายเทความร้อน • ความร้อน จะถ่ายเทจากเทหวัตถุหนึ่งไปยังเทหวัตถุ ด้วยวิธีดังต่อไปนี้ • ก. การนำความร้อน – การไหลของความร้อนจากวัตถุหนึ่งไปยังวัตถุอื่น • ด้วยการสัมผัสกันโดยตรง • ข. การพาความร้อน– การเคลื่อนที่ของความร้อนจากที่หนึ่งไปยังอีกที่ • หนึ่ง โดยการพาของของไหลหรืออากาศ • ค. การแผ่รังสี – การถ่ายเทความร้อนในรูปของการเคลื่อนไหวของ • คลื่น
การแผ่รังสี การพาความร้อน การนำความร้อน หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ
หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ • 1.2.3 หน่วยของความร้อน • ระบบเมตริก : แคลอรี่ (Calory) • ระบบอังกฤษ : บีทียู (BTU) • ระบบ SI : จูล (Joule) • 1 แคลลอรี = 4.186 จูล • 1 แคลลอรี = 3.968 x 103 BTU • 1 BTU = 1.055 x 103 จูล
หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ • 1.2.4 ความร้อนสัมผัส และความร้อนแฝง • ความร้อนสัมผัส คือ ความร้อนที่ทำให้อุณหภูมิของสสารเปลี่ยน • แปลง • ความร้อนแฝงคือ ความร้อนที่ทำให้สสารเปลี่ยนแปลงสถานะ • โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ • 1.2.5 การอิ่มตัว ความร้อนยิ่งยวด และการเย็นเยือก • ของเหลวอิ่มตัว คือ ของเหลวที่ได้รับความร้อนจนถึงอุณหภูมิอิ่มตัวซึ่งเมื่อ ให้ความร้อนต่อไปของเหลวจะเริ่มเปลี่ยนสถานะ • ไออิ่มตัว คือ ไอที่เกิดจากของเหลวที่กำลังกลายเป็นไอ ภายใต้อุณหภูมิ • และความดันเดียวกันกับของของเหลว • ไอร้อนยิ่งยวด คือ อุณหภูมิของไอที่สูงกว่าอุณหภูมิไออิ่มตัว • การเย็นเยือก คือ ของเหลวที่มีอุณหภูมิต่ำกว่าอุณหภูมิหลอมเหลว
หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ • 1.2.6 อุณหภูมิ • อุณหภูมิ คือ ตัววัดระดับความร้อนของสสาร
หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ • 1.2.7 หน่วยของอุณหภูมิ • ระบบเมตริก เซนติเกรด 0C • ระบบอังกฤษ ฟาเรนไฮด์ 0F • ระบบ SI เซนติเกรด 0C สมการที่ใช้แปลงหน่วย C = F - 32 9 5
หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ • 1.2.8 อุณหภูมิสมบูรณ์ • อุณหภูมิที่โมเลกุลของสสารหยุดการเคลื่อนไหวหรือสั่นสะเทือน • ระบบเมตริกและระบบ SI เป็นเคลวิน 0K = 273 0C • ระบบอังกฤษ เป็นแรนคิน0R = 460 0F
หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ • 1.2.9 งานพลังงาน และกำลังงาน • งานคือ แรงที่ทำให้สสารเคลื่อนที่ xระยะทางที่เคลื่อนที่ • พลังงานคือ ความสามารถที่จะทำงานมี 3 แบบ คือ พลังงานกลพลัง งานไฟฟ้าและพลังงานความร้อน • กำลังงาน คือ อัตราการทำงานต่อหน่วยเวลา
หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ • 1.2.10 การเปลี่ยนสถานะของน้ำ
หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ 1.3 วัฎจักรการทำความเย็น 1.3.1การทำความเย็น และการปรับอากาศ การทำความเย็น คือ การลดและรักษาอุณหภูมิของห้องหรือวัตถุให้ มีค่าต่ำกว่าอุณหภูมิสภาพแวดล้อม การปรับอากาศ คือ การควบคุม ความชื้น อุณหภูมิ ความสะอาด ความเร็วลม และการกระจายลมในห้อง ความร้อนความชื้นฝุ่นละออง ความร้อน กระจายลม การทำความเย็น การปรับอากาศ
หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ • 1.3.2 ภาระความร้อน • อัตราความร้อนที่ต้องนำออกจากบริเวณที่ทำความเย็นแบ่งเป็น • - ภาระความร้อนจากภายนอกเช่นแสงอาทิตย์การรั่วของอากาศเข้าอาคารลมแสงสะท้อนเป็นต้น • - ภาระความร้อนภายในเช่นคนอุปกรณ์ไฟฟ้าไฟแสงสว่างการระบายอากาศออกเป็นต้น
หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ 1.3.3 สารทำความเย็น สารทำความเย็นคือตัวพาความร้อนที่จะดึงความร้อนออกจาก ห้องไปสู่ข้างนอก คุณสมบัติของสารทำความเย็น ก. ราคาถูก ข. ไม่มีพิษไม่ระเบิดไม่ติดไฟไม่กัดกร่อน ค. เสถียร
หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ ง. ความร้อนแฝงในการกลายเป็นไอสูง จ. ง่ายต่อการควบแน่นและกลายเป็นไอ ฉ. ง่ายต่อการตรวจหารอยรั่ว ช. ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อมกำจัดง่าย ตัวอย่างสารทำความเย็นเช่นอากาศแอมโมเนียคาร์บอนไดออกไซด์ สาร CFC,HCFC และ HFC เป็นต้น
หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ ตัวกลางการทำความเย็นอื่นๆ ก. น้ำเย็น ข. น้ำเกลือ ค. น้ำแข็ง
หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ 1.3.4 วัฎจักรการทำความเย็น วัฎจักรการทำความเย็นอย่างง่ายมีพื้นฐาน 4 ขั้นตอน 1. การอัด 2. การควบแน่น 3. การขยาย 4. การกลายเป็นไอ การควบแน่น การขยาย การอัด การกลายเป็นไอ
หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ อุปกรณ์การอัด COMPRESSOR 1. CENTRIFUGAL 2. RECIPROCATING 3. SCREW 4. SCROLL 5. ROTARY 6. VANE
หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ อุปกรณ์การควบแน่น CONDENSING 1. ระบายความร้อนด้วยอากาศ 2. ระบายความร้อนด้วยน้ำ
หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ ชนิดของอุปกรณ์การขยาย (EXPANSION) 1. DIRECT EXPANSION - CAPILLARY TUBES - THERMOSTATIC - EXPANSION VALVE 2. FLOODED TYPE 3. DRY EXPANSION TYPE
หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ อุปกรณ์การกลายเป็นไอ 1. FAN COIL UNIT 2. AIR HANDLING UNIT
หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ 2.1 แผนภูมิมอลเลียร์ 2.1.1 CFC - 11 2.1.2 CFC - 12 2.1.3 HCFC - 22 2.1.4 HCFC - 123 2.1.5 HFC - 134a
หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ 2.2 แผนภูมิไซโครเมตริก 2.2.1 คำศัพท์พื้นฐาน 2.2.2 วิธีการอ่านแผนภูมิไซโครเมตริก 2.2.3 กระบวนการปรับอากาศบนแผนภูมิโซโครเมตริก 2.3 สูตรที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ อัตราส่วนประสิทธิภาพพลังงานของเครื่องปรับอากาศ (Energy Efficiency Ratio) : EER = (Btu/hr)/Watt Btu/hr = ความสามารถในการทำความเย็นของเครื่องปรับอากาศ Watt = กำลังไฟฟ้าที่ใช้
หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ แผนภูมิวัฎจักรการทำความเย็น
แผนภูมิมอลเลียร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์แผนภูมิมอลเลียร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ MOLLIER DIAGRAM OR P-h CHART
แผนภูมิมอลเลียร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแผนภูมิมอลเลียร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ MOLLIER DIAGRAM OR P-h CHART OF R-11
แผนภูมิมอลเลียร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแผนภูมิมอลเลียร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ MOLLIER DIAGRAM OR P-h CHART OF R-12
แผนภูมิมอลเลียร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแผนภูมิมอลเลียร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ MOLLIER DIAGRAM OR P-h CHART OF R-22
แผนภูมิมอลเลียร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแผนภูมิมอลเลียร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ MOLLIER DIAGRAM OR P-h CHART OF R-123
แผนภูมิมอลเลียร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแผนภูมิมอลเลียร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ MOLLIER DIAGRAM OR P-h CHART OF R-134a
แผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์แผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์ การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ 2.2 แผนภูมิไซโครเมตริก 2.2.1 คำศัพท์พื้นฐาน ก. อากาศชื้น (lbw) : อากาศที่มีไอน้ำรวมอยู่ด้วย ข. อากาศแห้ง (lba) : อากาศที่ไม่มีไอน้ำรวมอยู่ด้วย ค. อุณหภูมิกระเปาะแห้ง (0F) ง. อุณหภูมิกระเปาะเปียก (0F) จ. อุณหภูมิจุดน้ำค้าง (0F) : อุณหภูมิที่ไอน้ำในอากาศเริ่มควบแน่น
แผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ • ความชื้นสัมพัทธ์: อัตราส่วนของน้ำหนักจำเพาะของอากาศชื้นกับน้ำหนัก จำเพาะของอากาศอิ่มตัวเป็นเปอร์เซ็นต์ความชื้น • ช. ความชื้นจำเพาะ (lbw/ lba) : น้ำหนักของไอน้ำที่มีอยู่ในอากาศแห้ง 1 ปอนด์ • ปริมาตรจำเพาะ (ft3/lb) : ปริมาตรของอากาศชื้นต่ออากาศแห้ง 1 ปอนด์ใน อากาศชื้นนั้น • ฌ. น้ำหนักจำเพาะ (lb/ft3) : มวลต่อปริมาตร • ญ.เอ็นทาลปี้ (BTU/lb) : พลังงานความร้อนทั้งหมดที่มีอยู่อากาศแห้ง 1 ปอนด์
แผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ 2.2.2 วิธีการอ่านแผนภูมิไซโครเมตริก เมื่อทราบสภาวะของอากาศ 2 ค่าก็จะสามารถทราบสภาวะอากาศทั้งหมดได้
แผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ 2.2.3 กระบวนการปรับอากาศบนแผนภูมิไซโครเมตริก การเพิ่มความชื้น
แผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ การลดความชื้น
แผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ การทำความเย็น
แผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ การให้ความร้อน
แผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ การเพิ่มความชื้นและให้ความร้อน
แผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ การลดความชื้นและให้ความร้อน
แผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ การเพิ่มความชื้นและการทำความเย็น