471 likes | 1.46k Views
Results - Based Management: Logical Framework Approach - LFA (Logframe). การบริหารงานแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ : การออกแบบโครงการแบบเหตุผลสัมพันธ์. Results - Based Management : Logical Framework Approach (I). Results - Based Management (RBM) การบริหารงานแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์
E N D
Results - Based Management:Logical Framework Approach - LFA (Logframe) การบริหารงานแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ : การออกแบบโครงการแบบเหตุผลสัมพันธ์
Results - Based Management :Logical Framework Approach(I) • Results - Based Management (RBM) การบริหารงานแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ - นำทฤษฎีระบบมาปรับปรุงขั้นตอนการทำงานในระบบบริหารจัดการ - สัมพันธ์กับระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน (PBB) - วัดผลตามผลสัมฤทธิ์ของงานที่รับผิดชอบ ยุทธศาสตร์ (Strategic Plan) ตัวชี้วัดผลงาน (Key Performance Indicator) แผนการดำเนินงาน (Action Plan) - ระบบบริหารราชการตามนโยบายเรื่องการปฏิรูประบบราชการภาครัฐ
Results - Based Management: Logical Framework Approach(II) • Budgeting ระบบงบประมาณ งบประมาณแบบแสดงรายการ (Line - Item Budgeting) งบประมาณแบบแสดงผลงาน (Performance Budgeting) งบประมาณแบบแสดงแผนงาน (Program Budgeting) งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน*** (Performance Based Budgeting)
Line - Item Budgeting งบประมาณแบบแสดงรายการ เป็นระบบงบประมาณที่เน้นการควบคุมรายจ่ายไม่ให้เกินไปจากที่กำหนด หรือต่างไปจากที่กำหนดมากนัก โดยให้ความสำคัญกับปัจจัยนำเข้า (Input) แต่ละรายการ • ข้อดี • ช่วยควบคุมรายจ่ายของหน่วยงานได้ดี • แสดงรายการค่าใช้จ่ายอย่างชัดเจน • สะดวกในการปรับเพิ่ม - ลดรายการต่างๆ • ข้อจำกัด • ไม่สามารถวัดผลสัมฤทธิ์ของงานได้ • ไม่เกิดความสัมพันธ์ระหว่างระหว่างทรัพยากรกับผลที่คาดว่าจะได้รับ • โครงการชื่อเดียวกันแต่หมวดรายจ่ายต่างกันไม่สามารถยุบรวมหรือดำเนินการพร้อมกันได้ • - ควบคุมปัจจัยนำเข้า - จำแนกตามหมวดค่าใช้จ่าย • - ประเมินความสำเร็จจากการใช้เงินให้หมดไป
Performance Budgeting งบประมาณแบบแสดงผลงาน เป็นระบบงบประมาณที่เน้นประสิทธิภาพการทำงาน โดยได้รับอิทธิพลจากการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ และเชื่อมโยงการจัดสรรงบประมาณเข้ากับการวางแผนให้สมเหตุสมผล • ข้อดี • ช่วยให้การใช้จ่ายมีประสิทธิภาพ คุ้มค่า • คล่องตัวในการบริหารงาน • เหมาะสมกับการจัดซื้อจัดจ้าง • ข้อจำกัด • จำเป็นต้องใช้ข้อมูลอ้างอิง (ใบเสนอราคา/ประมาณราคาย้อนหลัง ฯลฯ) • การสืบค้น และจัดหาข้อมูลมีอุปสรรค • ไม่สามารถพิจารณาความคุ้มค่า • อาจไม่เหมาะสมกับสภาวการณ์ปัจจุบัน • - จำแนกตามลักษณะงาน - หาวิธีที่คุ้มและดีที่สุด • - กำหนดมาตรฐานการวัดงาน - แสดงราคาต่อหน่วย
Program Budgeting งบประมาณแบบแสดงแผนงาน เป็นระบบงบประมาณที่นำระบบการวางแผนระยะยาวมากำหนดวงเงินงบประมาณ โดยต้องเชื่อมโยงกับนโยบาย เป้าหมาย ประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามที่กำหนด และมุ่งเน้นการวิเคราะห์ • ข้อดี • ช่วยวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในระยะยาว • มีนโยบายและแผนงานรองรับ • บริหารจัดการงานให้เกิดความคุ้มค่าสูงสุด • ข้อจำกัด • เน้นการวิเคราะห์ทางบัญชีเป็นหลัก • เอกสารประกอบมากเกินไป (PM, PFP, SS) • PM - Program Memorandum • PFP - Program Financial Plan • SS - Special Study • ใช้เวลาในการพิจารณานานซับซ้อน ยุ่งยาก • มาตรฐานการวัดผลงานไม่ชัดเจน • - วิเคราะห์ระบบ - วิเคราะห์งบประมาณแบบฐานศูนย์ • - วิเคราะห์เชิงปริมาณ/คุณภาพ - วิเคราะห์ค่าท้ายสุด ฯลฯ
Performance Based Budgeting งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน เป็นระบบงบประมาณที่มุ่งเน้นความสำเร็จของผลงานและผลลัพธ์ มีการกำหนดเป้าหมายที่เป็นรูปธรรม มีแผนยุทธศาสตร์รองรับชัดเจน สามารถวัดและประเมินผลการทำงานได้ และมีความยืดหยุ่น • ข้อดี • มีความยืดหยุ่น • ให้ความสำคัญกับผลลัพธ์ และผลสัมฤทธิ์ • กระจายอำนาจการตัดสินใจ • สะท้อนการดำเนินงานอย่างชัดเจน • คำนวณค่าใช้จ่ายจากผลลัพธ์ • - วางแผนเชิงกลยุทธ - กำหนดวงเงินล่วงหน้า - บัญชีพึงรับจ่าย • - เน้นการบริหารจัดการภายใน - เชื่อมโยงผลงานกับนโยบาย
Results - Based Management :Logical Framework Approach(III) • ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ กับการออกแบบโครงการแบบเหตุผลสัมพันธ์ การออกแบบโครงการแบบเหตุผลสัมพันธ์ เป็นวิธีการที่สำคัญ ในการบริหารงานเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุด โดยนำมาประยุกต์ใช้ในขั้นตอนต่างๆ อาทิ การวางแผนงานเชิงระบบ (Systematic Planning) การนำแผนงานไปใช้ในทางปฏิบัติ (Implementing) การกำกับติดตาม (Monitoring) และการประเมินผล (Evaluating)
Results - Based Management :Logical Framework Approach(IV) • การออกแบบโครงการแบบเหตุผลสัมพันธ์ (1) - คำนึงถึงการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย - วิธีการตามความจำเป็น (Need Based Approach) - วิธีการแทรกแซงของตรรกะ (Logical Intervention Approach) - กรอบสำหรับประเมินความเป็นไปได้และความยั่งยืน - มุ่งเน้นที่ผลลัพธ์ - พิจารณาตามเหตุผลที่กำหนดวัตถุประสงค์และความสัมพันธ์เชิงเหตุผล
Results - Based Management :Logical Framework Approach(IV) • การออกแบบโครงการแบบเหตุผลสัมพันธ์ (2) - แสดงให้เห็นว่าวัตถุประสงค์สัมพันธ์กับตัวชี้วัดหรือไม่ (การติดตามและประเมินผล) - อธิบายปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อความสำเร็จของโครงการ : สมมติฐานและความเสี่ยง
Results - Based Management :Logical Framework Approach(VI) • การออกแบบโครงการแบบเหตุผลสัมพันธ์ (3) - การออกแบบโครงการแบบเหตุผลสัมพันธ์เป็นการวางแผนที่มีความสัมพันธ์เป็นระบบ โดยมีความสัมพันธ์ในเชิงสาเหตุและผลระหว่างการกำหนดจุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ กำหนดผลที่คาดว่าจะได้รับ กำหนดปัจจัยนำเข้าและรายละเอียดของกิจกรรมตามลำดับ นอกจากนี้ยังเป็นการวางแผนที่ต้องการให้เกิดการบรรลุวัตถุประสงค์เป็นหลัก รวมทั้งให้ความสำคัญการกำหนดกิจกรรม และทรัพยากร ที่มุ่งตอบสนองวัตถุประสงค์ของโครงการตามที่กำหนดอย่างชัดเจนเป็นรูปธรรม และตรวจสอบได้
Results - Based Management :Logical Framework Approach(V) • ขั้นตอนการออกแบบโครงการแบบเหตุผลสัมพันธ์ การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder Analysis) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) การวิเคราะห์ต้นไม้แห่งปัญหา (Problem Tree Analysis) การวิเคราะห์ต้นไม้แห่งวัตถุประสงค์ (Objective Tree Analysis) การวิเคราะห์กลยุทธ์ (Strategy Analysis)
Stakeholder Analysis การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย คือ บุคลล กลุ่ม ชุมชน และ/หรือ องค์กรใด ที่มีความสนใจในผลที่จะเกิดขึ้นเนื่องจากการดำเนินโครงการ วิธีการที่สำคัญ เช่น จัดเวทีประชาคม การประชุม การอบรมสัมมนา แบบสอบถาม การวิจัยภาคสนาม ฯลฯ ทั้งนี้รวมถึงการค้นคว้าจากเอกสารและรายงานอื่นๆ ประกอบกัน • เป้าหมาย • เพื่อระบุ: • ความต้องการ ความสนใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • กลุ่ม ชุมชน องค์กรที่ควรได้รับการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในขั้นตอนต่างๆ ของโครงการ • ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น และอาจจัดไว้ในระบบบริหารความเสี่ยง • โอกาส/ความเป็นไปได้ในการดำเนินโครงการ
SWOT Analysis การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (1) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ เป็นเครื่องมือสำหรับการประเมินหน่วยงาน องค์กร รวมทั้งสมรรถนะ และขีดความสามารถต่างๆ นอกจากนี้ การวิเคราะห์ดังกล่าวยังเป็นวิธีการที่ส่งเสริมให้เกิดการระดมความคิด การตระหนักในบทบาทการเป็นตัวแทน และการมีส่วนร่วมของหน่วยงานหรือองค์กรได้อย่างเต็มที่ • เป้าหมาย • เพื่อประเมิน: • ประสิทธิภาพ และสมรรถนะของแต่ละกลุ่ม/ฝ่าย ของหน่วยงานหรือองค์กรที่รับผิดชอบโครงการ • ความสามารถในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพของตนเอง กลุ่ม/ฝ่าย องค์กรหรือหน่วยงานของตนเอง
SWOT Analysis การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (2) ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก
SWOT Analysis การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (3) ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก
Problem Tree Analysis การวิเคราะห์ต้นไม้แห่งปัญหา (1) การวิเคราะห์ต้นไม้แห่งปัญหา เป็นวิธีค้นหาปัญหาที่ถูกหยิบยกขึ้นมาแก้ไข (โดยการจัดโครงการ) รวมทั้งสาเหตุและผลกระทบที่เกิดจากปัญหาดังกล่าว ดังนี้ - ปัญหาสำคัญที่ก่อให้เกิดการดำเนินโครงการ หรือรูปแบบการบริหารงานที่บกพร่อง - ปัญหาของกลุ่ม ชุมชน ที่มีความคล้ายคลึงกัน - การระบุรายละเอียดลงในต้นไม้แห่งปัญหา • เป้าหมาย • เพื่อระบุปัญหาที่สำคัญ และความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัญหาหลักดังกล่าว
Problem Tree Analysis การวิเคราะห์ต้นไม้แห่งปัญหา (2) ผลกระทบ ปัญหาสำคัญ สาเหตุ
Objective Tree Analysis การวิเคราะห์ต้นไม้แห่งวัตถุประสงค์ (3) การวิเคราะห์ต้นไม้แห่งปัญหา เป็นวิธีค้นหาวัตถุประสงค์ของการแก้ไขปัญหาตามที่ได้จากการวิเคราะห์ต้นไม้แห่งปัญหา ดังนี้ - ทำข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ต้นไม้แห่งปัญหามาวิเคราะห์ต้นไม้แห่งวัตถุประสงค์ - วิเคราะห์โดยใช้ปัญหาเป็นตัวตั้ง (วัตถุประสงค์) - ปรับเปลี่ยนประเด็นปัญหา ให้เป็นผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ - ด้านบนสุดเป็นเป้าประสงค์หรือผลลัพธ์สุดท้ายที่ต้องการ - ส่วนที่ถัดลงมาเป็นปัจจัยความสำเร็จเมื่อโครงการสิ้นสุด • เป้าหมาย • เพื่อค้นหาเป้าประสงค์ วัตถุประสงค์ ผลลัพธ์ที่คาดว่าน่าจะเกิดขึ้น และกิจกรรมเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ตามที่กำหนด
Objective Tree Analysis การวิเคราะห์ต้นไม้แห่งวัตถุประสงค์ (4) เป้าประสงค์ วัตถุประสงค์ องค์ประกอบ/ประเด็น ผลที่คาดว่า จะได้รับ กิจกรรม + ปัจจัยนำเข้า
Objective Tree Analysis การวิเคราะห์ต้นไม้แห่งวัตถุประสงค์ (5) ความสัมพันธ์ระหว่างต้นไม้แห่งปัญหา และต้นไม้แห่งวัตถุประสงค์
Strategy Analysis การวิเคราะห์กลยุทธ์ (1) การวิเคราะห์กลยุทธ์ เป็นส่วนหนึ่งของการวิเคราะห์ต้นไม้แห่งวัตถุประสงค์ เพื่อให้เกิดความสอดคล้องกันของหน่วยย่อยต่างๆ ที่มาประกอบกันขึ้นเป็นโครงการ - การจัดลำดับความสำคัญของแต่ละหน่วยย่อย (unit) - ประเด็นที่พบในแต่ละหน่วยย่อยสามารถนำมาพิจารณาแนวทางเชิงยุทธศาสตร์สำหรับการดำเนินโครงการในอนาคตได้ - วัตถุประสงค์ของโครงการเป็นตัวกำหนดกรอบกลยุทธของโครงการ • เป้าหมาย • เพื่อเลือกกลยุทธที่ดีที่สุดในการดำเนินโครงการ
Results - Based Management :Logical Framework Approach(VI) • Logical Framework Matrix(1) ตารางเหตุผลสัมพันธ์ - เป็นผลลัพธ์เชิงประจักษ์ในการออกแบบโครงการตามหลัก LFA - เป็นเครื่องมือเพื่อนำเสนอข้อมูลด้านต่างๆ ของโครงการอย่างเป็นระบบและมีความเป็นเหตุเป็นผล - ตารางเหตุผลสัมพันธ์โดยทั่วไปจัดเป็น 4 สดมภ์ (คอลัมน์) สดมภ์ละ 4 แถว แต่บางหน่วยงานกำหนดให้แต่ละสดมภ์มี 5 แถวเพื่อระบุรายละเอียดของปัจจัยนำเข้า
Results - Based Management :Logical Framework Approach(VI) • Logical Framework Matrix (2) ตารางเหตุผลสัมพันธ์ สาระสำคัญโดยสรุป (Narrative Summary - NS) ตัวบ่งชี้ความสำเร็จ (Objective Verifiable Indicators - OVI) หลักฐาน / แหล่งพิสูจน์ (Means of Verification - MOV) เงื่อนไขความสำเร็จ (Important Assumption - IA)
Logframe Matrix 5x4 ตารางเหตุผลสัมพันธ์
Logframe Matrix 5x4 ตารางเหตุผลสัมพันธ์ อย่างไร ทำไม
Logframe Matrix 5x4 ตารางเหตุผลสัมพันธ์ ทำไม อย่างไร
Results - Based Management :Logical Framework Approach(VI) • Assumptions เงื่อนไขความสำเร็จ (1) - เงื่อนไข หรือปัจจัยภายในและภายนอกที่สร้างความเชื่อมั่นว่ากิจกรรมที่กำหนดจะบรรลุผล - ความเสี่ยงที่อาจมีผลต่อความสำเร็จของโครงการ - สถานการณ์ที่จำเป็นเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ - เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับเป้าหมาย - มีความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ
Results - Based Management :Logical Framework Approach(VI) • Assumptions เงื่อนไขความสำเร็จ (2) ตัวอย่าง เงื่อนไขความสำเร็จ - สถานการณ์ทางการเมือง - มีวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นเพียงพอ - การอนุมัติ การทำสัญญา การก่อภาระหนี้ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง - การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
A+B = C, C+D = E, E+F = G, G+H = I I G H E F C D A B
Logical Framework Indicators ตัวชี้วัดและการวัดผล ตรวจสอบความสำเร็จของโครงการจากผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง “ปริมาณ” - “คุณภาพ” - “เวลาที่ใช้” วิธีการ : ตรวจสอบจากเอกสาร / รายงาน - ตรวจสอบจากพื้นที่จริง - การศึกษาเฉพาะกิจ ฯลฯ