1 / 29

สิทธิการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของประชาชน ตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540

สิทธิการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของประชาชน ตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540. สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ. 1. เพิ่มความโปร่งใส สร้างความมั่นใจ ราชการไทย พร้อมให้ข้อมูล. 2. สิทธิในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของประชาชน.

Download Presentation

สิทธิการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของประชาชน ตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สิทธิการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของประชาชนสิทธิการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของประชาชน ตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ 1

  2. เพิ่มความโปร่งใส สร้างความมั่นใจ ราชการไทย พร้อมให้ข้อมูล 2

  3. สิทธิในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของประชาชนสิทธิในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของประชาชน 1. สิทธิในการเข้าตรวจดูข้อมูลข่าวสารในหน่วยงานต่าง ๆ ซึ่งหน่วยงานของรัฐ ทุกแห่งจะต้องจัดเตรียมข้อมูลข่าวสารอย่างน้อยตามที่กฎหมายกำหนดไว้ให้พร้อม ที่ให้ประชาชนเข้าตรวจดู 2. สิทธิในการขอข้อมูลข่าวสาร กฎหมายข้อมูลข่าวสารของราชการได้กำหนดให้ ประชาชนมีสิทธิที่จะขอข้อมูลข่าวสารที่ประชาชนต้องการรู้ นอกเหนือจากข้อมูล ข่าวสารที่ได้มีการจัดเตรียมไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดู 3

  4. การคุ้มครองสิทธิของประชาชนการคุ้มครองสิทธิของประชาชน 1. ในกรณีที่ประชาชนไปใช้สิทธิเข้าตรวจดูข้อมูลข่าวสารแล้วพบว่า หน่วยงาน ไม่จัดเตรียมข้อมูลข่าวสารไว้ให้ หรือ จัดเตรียมข้อมูลข่าวสารไว้ไม่ครบ สามารถ มีหนังสือ หรือ จดหมายร้องเรียนไปยังคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการได้ 2. ในกรณีที่ประชาชนได้ใช้สิทธิยื่นคำขอข้อมูลข่าวสารตามที่ต้องการรู้แล้ว แต่ไม่ได้รับความสะดวก หรือ ดำเนินการล่าช้า โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร สามารถร้องเรียนไปยังคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการได้ • ในกรณีที่ประชาชนไปใช้สิทธิขอข้อมูลข่าวสาร และ หน่วยงานของรัฐได้ปฏิเสธ • ไม่ให้ข้อมูลข่าวสารตามที่ขอ หากประชาชนไม่เห็นด้วยกับเหตุผลที่ปฏิเสธ สามารถ • มีหนังสือ หรือ จดหมายอุทธรณ์ไปยังคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการได้ 4

  5. หลักการและแนวคิด “เปิดเป็นหลัก ปิดเป็นข้อยกเว้น” “มีส่วนร่วม โปร่งใส ตรวจสอบได้” 1. ให้ประชาชนมีโอกาสรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดำเนินการต่าง ๆ ของรัฐ 2. รับรองสิทธิของประชาชนในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของราชการ 3. ข้อมูลข่าวสารของราชการส่วนใหญ่ เปิดเผยได้ ตามหลัก “เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น” 5

  6. “ข้อมูลข่าวสารของราชการ”“ข้อมูลข่าวสารของราชการ” “ข้อมูลข่าวสาร” คือ สิ่งที่สื่อความหมายให้ทราบเรื่องราว ข้อเท็จจริง โดย เน้นการสื่อความหมายเป็นหลัก มิได้เน้นที่รูปร่าง หรือ รูปแบบของความเป็นข้อมูล ข่าวสาร “ข้อมูลข่าวสารของราชการ” คือ ข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความ ครอบครอง หรือ ควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐ 6

  7. ประชาชนจะเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของราชการได้อย่างไรประชาชนจะเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของราชการได้อย่างไร 1. โดยการตรวจค้นได้จากราชกิจจานุเบกษา (มาตรา 7) 2. โดยการใช้สิทธิเข้าตรวจดูได้ด้วยตนเอง (มาตรา 9) 3. โดยการไปใช้สิทธิขอดูโดยการยื่นคำขอต่อหน่วยงานของรัฐ (ข้อมูลข่าวสารทั่วไป) 4. โดยการใช้บริการศึกษาค้นคว้า ณ หอจดหมายเหตุ (เอกสารประวัติศาสตร์) 7

  8. “ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล”“ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล” กฎหมายข้อมูลข่าวสารช่วยให้ หายห่วงเรื่องข้อมูลส่วนบุคคลเสียที ข้อมูลเฉพาะตัว มีสิ่งระบุตัว เช่น ชื่อ ฯลฯ “ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล” คือ ข้อมูลข่าวสาร ข้อเท็จจริง “เฉพาะตัว” ของบุคคล ไม่ว่าในแง่มุมใด “ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล” ตาม พ.ร.บ.นี้ จะต้องมีสิ่งบ่งชี้ตัวบุคคล ที่ชัดเจน โดยอาจเป็นชื่อ รหัส หมายเลข รูปถ่าย หรือ สิ่งบ่งชี้อย่างอื่นก็ได้ 8

  9. “ประชาชนจะเข้าถึงข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลได้อย่างไร”“ประชาชนจะเข้าถึงข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลได้อย่างไร” ประวัติ สุขภาพ พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ให้สิทธิแก่ประชาชนเจ้าของข้อมูล ข่าวสารส่วนบุคคล มีสิทธิขอตรวจดูข้อมูลข่าวสารของตนได้ และ หากพบว่า ข้อมูลข่าวสารนั้น ไม่ถูกต้อง เจ้าของข้อมูลย่อมมีสิทธิทำคำขอเป็นหนังสือให้ หน่วยงานของรัฐแก้ไขข้อมูลข่าวสารนั้นได้ หากหน่วยงานของรัฐไม่ดำเนินการให้ ประชาชนเจ้าของข้อมูลอาจอุทธรณ์ต่อ คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารได้ภายใน 30 วัน ถ้าคำวินิจฉัย เป็นเช่นใด หน่วยงานของรัฐต้องปฏิบัติตามนั้น 9

  10. “ข้อมูลข่าวสารประวัติศาสตร์”“ข้อมูลข่าวสารประวัติศาสตร์” ข้อมูลราชการที่มีอายุครบ 20 ปี “ข้อมูลข่าวสารประวัติศาสตร์” คือ ข้อมูลของราชการที่มีอายุครบ 20 ปี สำหรับข้อมูลทั่วไป หรือ 75 ปี สำหรับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสถาบันกษัตริย์ ข้อมูลข่าวสารใดที่หน่วยงานของรัฐไม่ประสงค์จะเก็บรักษา หรือ ที่มีอายุครบ 20 ปี สำหรับข้อมูลทั่วไป หรือ 75 ปี สำหรับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสถาบัน กษัตริย์ จะต้องจัดส่งให้แก่หอจดหมายเหตุแห่งชาติพิจารณาด้วย 10

  11. “สิทธิตามกฎหมายข้อมูลข่าวสารของราชการ”“สิทธิตามกฎหมายข้อมูลข่าวสารของราชการ” 1. กฎหมายกำหนดให้สิทธิอะไรบ้างแก่ประชาชนในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของราชการ? สิทธิรับรู้ ข้อมูลข่าวสาร 1. สิทธิ “ได้รู้ข้อมูลข่าวสารของราชการ” ต้องรู้ ม. 7 ควรรู้ ม. 9 อยากรู้ ม. 11+ ม. 26 2. สิทธิ “คัดค้านการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารกรณีมีส่วนได้เสีย” มาตรา 17 3. สิทธิ “ร้องเรียนหน่วยงานของรัฐ” มาตรา 13 4. สิทธิ “อุทธรณ์คำสั่งไม่เปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ” มาตรา 18 มาตรา 25 5. สิทธิ “ได้รับการคุ้มครองข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล” มาตรา 23 มาตรา 25 11

  12. “สิทธิตามกฎหมายข้อมูลข่าวสารของราชการ”“สิทธิตามกฎหมายข้อมูลข่าวสารของราชการ” 2. หากประชาชนไม่รู้ว่าหน่วยงานของรัฐแห่งใดเป็นผู้จัดเก็บ หรือ ครอบครองข้อมูล ข่าวสารที่ต้องการขอดู ประชาชนจะทำอย่างไร ? ในกรณีนี้ กฎหมายกำหนดให้เป็นหน้าที่ของหน่วยงานที่รับคำขอจะต้องให้คำแนะนำ ที่ถูกต้อง เพื่อไปยื่นคำขอต่อหน่วยงานของรัฐที่ควบคุมข้อมูลข่าวสารนั้นโดยไม่ชักช้า 12

  13. “สิทธิตามกฎหมายข้อมูลข่าวสารของราชการ”“สิทธิตามกฎหมายข้อมูลข่าวสารของราชการ” 3. หากหน่วยงานของรัฐไม่พิจารณาคำขอข้อมูลข่าวสาร ประชาชนจะทำอย่างไร ? คำขอข้อมูลข่าวสาร 1.ไปติดต่อเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ โดยทำหนังสือหรือโดยวาจา ขอทราบผลการ พิจารณาโดยยกสิทธิรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ตาม พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ 2540 ขึ้นอ้างและให้เวลาพอสมควรในการพิจารณาแก่เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ 2. ติดตามทวงถามผลการพิจารณาเมื่อครบกำหนดเวลา ตามข้อ 1 3. หากดำเนินการตามข้อ 1 และ 2 ยังไม่บังเกิดผล ให้ใช้สิทธิร้องเรียนต่อ คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ โดยทำเป็นหนังสือถึง .......... 13

  14. ที่อยู่ ผู้ร้อง ................................ ............................... เรียน ประธานกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ทำเนียบรัฐบาล กรุงเทพมหานคร 10300 14

  15. “สิทธิตามกฎหมายข้อมูลข่าวสารของราชการ”“สิทธิตามกฎหมายข้อมูลข่าวสารของราชการ” 4. หากประชาชนทราบว่า ตนเองมีส่วนได้เสียในข้อมูลข่าวสารของราชการที่มีผู้อื่น มาขอใช้สิทธิตรวจดูข้อมูลข่าวสารนั้น จะทำอย่างไรเพื่อมิให้มีการเปิดเผยข้อมูล ข่าวสารนั้น ? ไม่ว่ากรณีใด ๆ หากผู้ใดทราบว่า หน่วยงานของรัฐจะเปิดเผยข้อมูลข่าวสารใดอันกระทบถึงประโยชน์ได้เสียของตนเอง สามารถยื่นคำคัดค้านการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารนั้นได้ ผู้คัดค้านมีสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารได้ภายใน 15 วัน 15

  16. “สิทธิตามกฎหมายข้อมูลข่าวสารของราชการ”“สิทธิตามกฎหมายข้อมูลข่าวสารของราชการ” 5. สิทธิในการขอตรวจดูข้อมูลข่าวสารของราชการ ประชาชนผู้ขอจำเป็นต้องมี ส่วนได้เสีย ในข้อมูลข่าวสารนั้น ด้วยหรือไม่ เพราะเหตุใด ? “ไม่จำเป็นต้องมีส่วน ได้เสียก็ขอดูได้” บุคคลไม่ว่าจะมีส่วนได้เสียหรือไม่ก็ตาม ย่อมมีสิทธิเข้าตรวจดูข้อมูลข่าวสาร ของราชการได้ “สิทธิได้รู้นี้เป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของการรัฐธรรมนูญ” 16

  17. “สิทธิตามกฎหมายข้อมูลข่าวสารของราชการ”“สิทธิตามกฎหมายข้อมูลข่าวสารของราชการ” 6. ประชาชนจะใช้สิทธิร้องเรียนหน่วยงานของรัฐได้ในกรณีใดบ้าง ? 6 ไม่ 1. ไม่ดำเนินการตาม พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ต้องรู้ (ม.7) - ควรรู้ (ม.9) - อยากรู้ (ม.11) 2. ไม่ให้คำแนะนำ ที่ถูกต้อง ไม่แจ้งให้ผู้มีส่วนได้เสียเสนอคำคัดค้าน ไม่อำนวยความสะดวกในการใช้สิทธิรับรู้ข้อมูลข่าวสาร 17

  18. “สิทธิตามกฎหมายข้อมูลข่าวสารของราชการ”“สิทธิตามกฎหมายข้อมูลข่าวสารของราชการ” 7. ประชาชนจะร้องเรียนหน่วยงานของรัฐได้อย่างไร และ ร้องเรียนกับใคร ? ขอร้องเรียน ..... ครับ..... ที่อยู่ ผู้ร้อง ................................ ............................... เรียน คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ทำเนียบรัฐบาล กรุงเทพมหานคร 10300 18

  19. 19

  20. 20

  21. 21

  22. “ข้อยกเว้น และ กระบวนการคุ้มครองสิทธิของประชาชน” 1. มีข้อมูลข่าวสารของราชการลักษณะใดบ้างที่หน่วยงานของรัฐสามารถ ใช้ดุลยพินิจปฏิเสธคำขอดูข้อมูลข่าวสารนั้นได้ ? ความมั่นคงของประเทศ , การบังคับใช้กฎหมาย , ความคิดเห็นภายใน ความปลอดภัยของบุคคล , ข้อมูลส่วนบุคคล , ข้อมูลที่กำหนดมิให้เปิดเผย 22

  23. “ข้อยกเว้น และ กระบวนการคุ้มครองสิทธิของประชาชน” 2. ถ้าหน่วยงานปฏิเสธ หรือ มีคำสั่งไม่เปิดเผยข้อมูลข่าวสารตามที่ร้องขอ ประชาชนจะมีสิทธิ หรือ ได้รับการเยียวยาอย่างไรบ้าง ? “ผมมาขอยื่นคำขออุทธรณ์ คำสั่งไม่เปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ของหน่วยงานของรัฐครับ” ประชาชนมีสิทธิอุทธรณ์คำสั่งไม่เปิดเผยข้อมูลข่าวสารของหน่วยงานของรัฐ ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ทราบคำสั่งไม่เปิดเผยข้อมูลข่าวสารนั้น 23

  24. “ข้อยกเว้น และ กระบวนการคุ้มครองสิทธิของประชาชน” 3. ใครเป็นผู้มีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยคำร้องเรียนของประชาชน และ มีขั้นตอน ดำเนินการอย่างไร ? คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร 24

  25. กระบวนการขั้นตอนเรื่องร้องเรียนกระบวนการขั้นตอนเรื่องร้องเรียน 1. ประชาชนพบว่า มีกรณีที่หน่วยงานของรัฐ ไม่ปฏิบัติตามกฎหมายข้อมูลข่าวสารฯ 2. ยื่นคำร้องเรียนต่อ กขร. 3. กขร.มอบหมายให้อนุกรรมการฯ หรือ สขร. ตรวจสอบข้อเท็จจริง และ ให้คำแนะนำหน่วยงาน ปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมายข้อมูลข่าวสารฯ 4. หน่วยงานพิจารณาดำเนินการ และแจ้งผลการพิจารณาให้ผู้ร้องเรียนทราบ พร้อมรายงาน กขร. ทราบ 5. ผู้ร้องเรียนพอใจ เป็นอันยุติเรื่อง 6. ผู้ร้องเรียนไม่พอใจ ขอให้คณะกรรมการฯ พิจารณาวินิจฉัยต่อไป 7. กขร. พิจารณาวินิจฉัยและแจ้งให้ หน่วยงานปฏิบัติตามคำวินิจฉัย 8. กขร. ติดตามผลว่า มีการปฏิบัติตามคำวินิจฉัยแล้วหรือไม่ หากมีเป็นอันยุติ หากไม่มีการปฏิบัติจะใช้มาตรการเร่งรัด และ รายงานต้นสังกัดเพื่อบังคับให้เป็นไปตามกฎหมาย 25 (กขร. คณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร / สขร. สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ)

  26. “ข้อยกเว้น และ กระบวนการคุ้มครองสิทธิของประชาชน” 4. ข้อมูลข่าวสารของราชการที่เปิดเผยนั้น ประชาชนจะขอคัดสำเนาและให้มีการ รับรองสำเนาถูกต้องได้หรือไม่ และ ต้องเสียค่าธรรมเนียมหรือไม่ ? คัดสำเนา รับรองสำเนา การขอสำเนาและขอให้รับรองสำเนาถูกต้อง กฎหมายกำหนดให้ประชาชน มีสิทธิขอสำเนาและขอสำเนาที่มีคำรับรองถูกต้องได้ โดยหน่วยงานของรัฐ อาจวางหลักเกณฑ์การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมได้ 26

  27. “ข้อยกเว้น และ กระบวนการคุ้มครองสิทธิของประชาชน” 5. ข้อมูลข่าวสารที่ต้องจัดเตรียมไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องมีคำขอมีอะไรบ้าง และ หน่วยงานของรัฐมีหลักการเกี่ยวกับ การจัดให้มีข้อมูลข่าวสารดังกล่าวนั้นอย่างไร ? ผลการพิจารณาที่มีผลโดยตรงต่อเอกชน , นโยบายของหน่วยงานของรัฐ แผนงาน/โครงการและงบประมาณ , คู่มือหรือคำสั่งเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงาน สัญญาสำคัญของรัฐ , มติคณะรัฐมนตรี , ข้อมูลข่าวสารอื่น 27

  28. “หลักเกณฑ์ และ วิธีการจัดให้ประชาชนตรวจดู” 1. ต้องมีสถานที่เฉพาะสำหรับประชาชนสามารถใช้ตรวจดู และ ศึกษาได้โดยสะดวกตามสมควร ตามผมไปใช้สิทธิ ตาม พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสาร ของราชการ พ.ศ. 2540 2. ต้องจัดให้มีดัชนีที่มีรายละเอียดเพียงพอ ให้ประชาชนสามารถเข้าใจวิธีการค้นหา ได้โดยสะดวก 3. ข้อมูลข่าวสารที่จัดให้ตรวจดู ประชาชนต้องสามารถตรวจดูเองได้โดยสะดวก 4. หน่วยงานของรัฐ อาจจะกำหนดระเบียบเพื่อความเรียบร้อยของการเข้าใช้บริการ หรือ ความปลอดภัยของข้อมูลข่าวสารได้ 5. การจัดสถานที่ให้ประชาชนเข้าตรวจดู อาจจัดไว้ที่มุมใดของหน่วยงาน หรือ อาจจัดไว้ที่ห้องสมุดของหน่วยงาน ก็ได้ 28

  29. ถาม-ตอบ กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานจังหวัดน่าน โทร 0 5475 1102 www.nan.go.th 29

More Related