330 likes | 576 Views
1308208 Management Information System for Administration 4. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจสำหรับผู้บริหาร. Instructor : Dr. Chattrakul Sombattheera Office : IT 302 Email : chattrakul@gmail.com . Faculty of Informatics Mahasarakham University. หัวข้อที่ศึกษา. การจัดการกับการตัดสินใจ
E N D
1308208 Management Information System for Administration4. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจสำหรับผู้บริหาร Instructor : Dr. ChattrakulSombattheera Office : IT 302 Email : chattrakul@gmail.com Faculty of Informatics Mahasarakham University
หัวข้อที่ศึกษา • การจัดการกับการตัดสินใจ • ระดับการตัดสินใจในองค์กร • กระบวนการในการตัดสินใจ • ประเภทของการตัดสินใจ • ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ • ส่วนประกอบของ DSS • คุณสมบัติของ DSS • ความแตกต่างระหว่าง DSS กับระบบสารสนเทศอื่น • ประเภทของ DSS • การพัฒนา DSS • ระบบสนับสนุนการตัดสินใจกลุ่ม (GDSS) • ประเภทของ GDSS • ประโยชน์ของ GDSS
1. การจัดการกับการตัดสินใจ • หน้าที่ของการจัดการ โดยHenri Fayol การวางแผน(Planning) การตัดสินใจ(Deciding) การจัดองค์กร(Organizing) ผู้บริหาร การควบคุม(Controlling) การประสานงาน(Coordination)
1. การจัดการกับการตัดสินใจ • บทบาททางการจัดการโดยMintzberg (1971)
2. ระดับการตัดสินใจในองค์กร • การตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูงในองค์การ ซึ่งสนใจต่อสิ่งที่ยังไม่เกิดขึ้น/อนาคต • เกี่ยวข้องกับความไม่แน่นอนของสถานการณ์ • การตัดสินใจของผู้บริหารระดับกลาง ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการเพื่อให้เป็นไปตามนโยบายของผู้บริหาร • การตัดสินใจของหัวหน้าระดับต้น ซึ่งเกี่ยวกับการปฏิบัติงานเฉพาะด้านที่มีขั้นตอนซ้ำๆ กัน เพื่อให้เป็นไปตามแผนงานที่วางไว้
3. กระบวนการในการตัดสินใจ • Simon (1960) ขั้นตอนในการตัดสินใจหลัก 3 ประการ • รับรู้ปัญหา • รวบรวมข้อมูลของปัญหาและสิ่งแวดล้อม • ประมวลผล วิเคราะห์ ตรวจสอบ เพื่อกำหนดรายละเอียดของปัญหา • วิเคราะห์และพัฒนาแนวทางในการแก้ปัญหา • เลือกแนวปฏิบัติที่เหมาะสมกับสถานการณ์ที่สุด
4. ประเภทของการตัดสินใจ • การตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับงานที่ทำเป็นกิจวัตร (Routine) • มีหลักเกณฑ์และขั้นตอนที่ถูกกำหนดไว้แน่นอน • การตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ไม่ได้เกิดประจำ/ไม่สามารถวางแผนล่วงหน้า • การตัดสินใจต้องวิเคราะห์จากสิ่งแวดล้อมประกอบต้องอาศัยผู้บริหารที่เก่งและมีประสบการณ์สูง • ส่วนหนึ่งใช้หลักเกณฑ์และขั้นตอนมาประยุกต์แก้ปัญหาได้ • ส่วนที่เหลืออาศัยประสบการณ์ผู้ทำการตัดสินใจ
5. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ • DSS ช่วยในการเพิ่มประสิทธิภาพในตัดสินใจผู้บริหาร ดังนี้ • ประมวลและเสนอข้อมูลในการตัดสินใจแก่ผู้บริหาร • ประเมินทางเลือกที่เหมาะสมภายใต้ข้อจำกัดของแต่ละสถานการณ์ ทำให้ผู้บริหารเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับปัญหามากที่สุด
ตัวอย่างของการประยุกต์ใช้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจตัวอย่างของการประยุกต์ใช้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ • การบริหารจัดการน้ำ • http://www.haii.or.th/haiiweb/index.php?option=com_content&task=view&id=101&Itemid=101&lang=th_TH • http://www.gisthai.org/research/flood_pasak/summarize_flood.html • Simulator การออกแบบรถยนต์ • http://www.youtube.com/watch?feature=fvwp&v=dTg5kpzXkJg&NR=1 • Saab in pace • http://www.youtube.com/watch?v=9OvopjpvwpI
7. คุณสมบัติของ DSS ง่ายต่อการเรียนรู้และใช้งาน คุณ สมบัติ ยืดหยุ่นกับความต้องการผู้ใช้ โต้ตอบกับผู้ใช้ได้อย่างรวดเร็ว สนับสนุนการตัดสินใจแบบกึ่งโครงสร้างและแบบไม่มีโครงสร้าง มีข้อมูลและแบบจำลองสำหรับสนับสนุน
8. ความแตกต่างระหว่าง DSS กับระบบสารสนเทศอื่น • DSS ให้ความสำคัญกับการนำสารสนเทศไปประกอบการตัดสินใจของผู้ใช้ ไม่ใช่ระบบการรวบรวม และการเรียกใช้ข้อมูลประจำวัน • DSS สนับสนุนปัญหาการตัดสินใจแบบกึ่งโครงสร้างและไม่มีโครงสร้างของผู้จัดการระดับกลางและระดับสูง • DSS พัฒนาให้เหมาะกับการแก้ปัญหาของผู้ใช้ • DSS มีแนวโน้มในการพัฒนาสำหรับการใช้งานกับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล • ผู้ใช้มีส่วนสำคัญในการออกแบบระบบ ส่วนใหญ่นิยมใช้การออกแบบระบบด้วยการทำต้นแบบ (Prototyping Approach)
9. ประเภทของ DSS • ให้ความสำคัญกับเครื่องมือในการจัดการ วิเคราะห์ข้อมูล และการทดสอบทางสถิติ • ให้ผู้ใช้เข้าใจสารสนเทศและตัดสินใจได้มีประสิทธิภาพ • ให้ความสำคัญกับแบบจำลองในการแก้ปัญหา โดยเฉพาะแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ (mathematical model) และแบบจำลองการวิจัยขั้นการดำเนินการ (Operational Research Model) • ให้ผู้ใช้วิเคราะห์ปัญหาและปรับตัวแปรที่เกี่ยวข้อ เพื่อเป็นทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด
10. การพัฒนา DSS • DSS เป็นระบบที่เปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปเรื่อยๆ • SA อออกแบบให้มีความยืดหยุ่นสูงสามารถปรับได้ตามความต้องการของผู้ใช้ • ปัญหาแบบกึงโครงสร้าง/ไม่มีโครงสร้างพัฒนาด้วยการพัฒนาจากต้นแบบ(Evolutionary Prototyping) • กำหนดปัญหาร่วมกับผู้ใช้ • วิเคราะห์หาขั้นตอนในการตัดสินใจแก้ปัญหาร่วมกับผู้ใช้ • SA ศึกษาความเหมาะสมและพอเพียงของข้อมูล • SA เก็บรายละ เอียดในการพัฒนาระบบเพื่ออ้างอิงในอนาคต • ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลระบบเพื่อปรับปรุงแก้ไข
เหมาะสมกับการวบรวมและนำเสนอข้อมูลเหมาะสมกับการวบรวมและนำเสนอข้อมูล • ส่งเสริมการแสดงความคิดเห็นเพื่อหาข้อสรุปปัญหา • Groupware ประกอบด้วย • Electronic Questionnaire • Idea Organizer • Electronic Brainstorm Tool • Policy Formation Tool • Group Dictionary 11. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจแบบกลุ่ม (Group decision Support System) • อุปกรณ์สอดคล้องกับการยศาสตร์(Ergonomics) • สมาชิกกลุ่มและผู้สนับสนุนต้องเข้าใจระบบ DSS
12. ประเภทของ GDSS • แบบห้องการตัดสินใจ (Decision room) ห้องการตัดสินใจจะเหมาะสมกับสถานการณ์ที่ผู้ตัดสินใจอยู่ในห้องเดียวกัน หรืออยู่ในบริเวณเดี่ยวกัน และจัดให้คนเหล่านี้มาอยู่รวมกันในห้องเดียวกัน โดยห้องจะมีลักษณะเป็นห้องประชุมซึ่งมีเครื่องมือที่ช่วยในการตัดสินใจ เช่น จอภาพใหญ่ที่ใช้แสดงสารสนเทศต่างๆ และมีเครื่องคอมพิวเตอร์ประจำที่นั่งของผู้เข้าร่วม ประชมโดยโต๊ะอาจทำเป็นรูปตัวยู (U-shaped) • การตัดสินใจโดยใช้เครือข่ายวงแลน (Local Area Decision Network) เครือข่ายการตัดสินใจแบบนี้ใช้เมื่อกลุ่มผู้ตัดสินใจอาศัยอยู่ในกลุ่มเดียวกัน หรือบริเวณใกล้เคียงกัน และต้องทำการตัดสินใจบ่อยๆ ส่วนประกอบเหมือนแบบแรก แต่จะมีกล้องวีดีโอเพื่อจะถ่ายภาพการอภิปรายของห้องหนึ่งและถ่ายทอดไปยังอีกห้องหนึ่ง รวมทั้งมีเครือข่าย ในการเชื่อมโยงข้อมูลกันโดยอาจใช้วงแลน (Local Area Network) ถ้าห้องไม่อยู่ห่างไกลกันมาก เพื่อที่จะทำให้ผู้ตัดสินใจในแต่ละห้องสามารถใช้สารสนเทศพร้อมๆ กันได้
12. ประเภทของ GDSS • การประชุมทางไกล (Teleconferencing) เป็นการจัดประชุมทางไกล ในกรณีที่ไม่ได้มีการตัดสินใจบ่อยครั้ง และผู้ตัดสินใจอยู่ไกลกัน การประชุมจะมีการเชื่อมโยง กับห้องการตัดสินใจแบบ GDSS หลายห้องซึ่งอาจจะ อยู่คนละประเทศหรือคนละมุมโลกก็ได้ วิธีการแบบนี้ค่อนข้างมีความยืดหยุ่นสูง • เครือข่ายการตัดสินใจ WAN (Wide Area Decision Network) เป็นเครือข่ายการตัดสินใจในกรณีที่การตัดสินใจเกิดขึ้นบ่อยครั้ง และผู้ตัดสินใจอยู่ห่างไกลสถานการณ์ดังกล่าวจึงทำให้มีการใช้ GDSS โดยเชื่อมโยงกับเครือข่ายแบบ WAN
แบบห้องการตัดสินใจ (Decision room)
การตัดสินใจโดยใช้เครือข่ายวงแลน (Local Area Decision Network)
การประชุมทางไกล (Teleconferencing)
Local area Decision networks Wide area Decision network Decision room Teleconferencing ประเภทของ GDSS สูง ความถี่ในการตัดสินใจ ต่ำ ไกล ใกล้ ระยะทางของผู้ตัดสินใจ
13. ประโยชน์ของ GDSS • ช่วยเตรียมความพร้อมในการประชุม • การเตรียมข้อมูลและสารสนเทศในการประชุม • สร้างบรรยากาศในความร่วมมือกันระหว่างสมาชิก • สนับสนุนการมีส่วนร่วมและกระตุ้นการแสดงความคิดเห็นของสมาชิก • มีการจัดลำดับความสำคัญก่อนหลังของปัญหา • ช่วยให้การประชุมบรรลุผลในระยะเวลาที่สมควร • มีหลักฐานการประชุมแน่ชัด