571 likes | 1.56k Views
แอโรบิกดานซ์. AEROBIC DANCE. ?. ผศ.สุกัญญา พานิชเจริญนาม. แอโรบิกดานซ์ (Aerobic Dance). ทักษะการ เคลื่อนไหวเบื้องต้น (Basic movements). ทักษะการเต้นรำ (Dance step). การ บริหารกาย (Calisthenics). นำมาจัดปรับความหนักเบาตามความเหมาะสมของผู้ฝึก. 3 .กิจกรรมการยืดเหยียด. 1. กิจกรรมแอโรบิก.
E N D
แอโรบิกดานซ์ AEROBIC DANCE ? ผศ.สุกัญญา พานิชเจริญนาม
แอโรบิกดานซ์ (Aerobic Dance) ทักษะการ เคลื่อนไหวเบื้องต้น (Basic movements) ทักษะการเต้นรำ (Dance step) การบริหารกาย (Calisthenics) นำมาจัดปรับความหนักเบาตามความเหมาะสมของผู้ฝึก
3.กิจกรรมการยืดเหยียด 1.กิจกรรมแอโรบิก กิจกรรม บริหารกาย 2.กิจกรรมที่ส่งเสริมกล้ามเนื้อให้แข็งแรง
3 ขั้นตอนการสอน Aerobic Dance • ช่วงอบอุ่นร่างกาย(Warm up) • - หัวใจ / หายใจ • - ข้อต่อ กล้ามเนื้อและเอ็นต่างๆ 2. ช่วงแอโรบิกหรือช่วงงาน(Aerobic workout) 3. ช่วงลดงานเพื่อปรับสภาพ(Cool down) - หัวใจ - บริหารร่างกายเฉพาะส่วน(Floor work) - ยืดเหยียดข้อต่อและกล้ามเนื้อ(Stretching)
แผนภูมิแสดงระยะเวลาและความหนักของงานในการเต้นแอโรบิกแผนภูมิแสดงระยะเวลาและความหนักของงานในการเต้นแอโรบิก ชีพจร ระดับการเต้นหัวใจสูงสุด 85% ช่วงการฝึกหัวใจ การเต้นแอโรบิกเพื่อฝึกหัวใจ 65% อบอุ่นร่างกาย ผ่อนคลาย 15 นาที เวลา 60 นาที
Target Heart Rate (THR) อัตราการเต้นหัวใจเป้าหมาย THR= 65%_85% ของMHR • MHR (Maximum Heart Rate) อัตราการเต้นหัวใจสูงสุดของ บุคคลนั้น =220-อายุ • 220 เป็นตัวเลขอัตราการเต้นหัวใจสมมุติได้จากการถดถอยทางสถิติ) • 65%_ 85% ของอัตราการเต้นหัวใจสูงสุดคือ ช่วงความหนักที่ต้องการ
ตัวอย่างการคำนวณหาอัตราการเต้นหัวใจเป้าหมาย(THR)ของบุคคลที่มีอายุ 40 ปี • อัตราการเต้นหัวใจสูงสุดMHR คือ 220 - อายุ(40) = 180 ครั้ง/นาที • ความหนักที่ต้องการ65%ของMHR (180X65%) = 117 ครั้ง/นาที • ความหนักที่ต้องการ 75%ของ MHR (180X75%) = 135ครั้ง/นาที • ความหนักที่ต้องการ85%ของMHR (180X85%) = 153 ครั้ง/นาที
อัตราการเต้นหัวใจขณะออกกำกำลังกายตามอายุอัตราการเต้นหัวใจขณะออกกำกำลังกายตามอายุ
การเคลื่อนไหวในAerobic Dance Low – Impact (แบบแรงกระแทกต่ำ)High – Impact (แบบแรงกระแทกสูง)
Low – Impact (แบบแรงกระแทกต่ำ) • Marching • Walking • Step touch • Toe touch / Heel touch • Leg curl (Hamstring curl) • Grapevine • E-Z walk(easy walk) / V–Step • Box step • Knee lift / step knee lift • kick / step kick • Schottische • Mambo • Chasse’ / cha chacha • Two – Step • Lunge • Squat
High – Impact (แบบแรงกระแทกสูง) • RUN • Hop / Step Hop • Jump • Star Jump • Jumping Jack • Pendulum • Skip • Gallop • Twist • Leap • Slide Tap • Pony • Rocking horse • Quick Heel dig
Movement Directionทิศทางการเคลื่อนไหว
Fwd. Rdf. Ldf. L.Side OTS R.Side Circle Rdb Ldb. Bwd.
L.Shape V.Shape U.Shape Z.Shape T.Shape X.Shape I.Shape Zig Zag
Square Shape Triangle Shape Diamond Shape Figure eight S.Shape Circle
หลักในการออกกำลังกายให้ยึดคำว่า FFITT F = FUN (สนุกสนาน เพลิดเพลิน) F = FREQUENCY (ความบ่อย) MIN = 3 ครั้ง / สัปดาห์ MAX = ทุกวัน ควรมีวันพัก 1 วัน I = INTENSITY (ความหนัก–เบา) ขึ้นอยู่กับอายุ T = TIME (เวลา) เวลาที่ควรใช้ประมาณ 15 – 45 นาที T = TYPE (ชนิด) เช่น การเดิน, การวิ่ง, ขี่จักรยาน, ว่ายน้ำ, เต้นรำ ฯลฯ