1 / 64

อาจารย์ผู้สอน รศ.ชะเอม สายทอง

อาจารย์ผู้สอน รศ.ชะเอม สายทอง. START. ใครตอบไม่ได้. 1 + 1 มีค่าเท่าไร. ตอบ. ถูกต้อง … นะ..คร๊าบ . ... เรียนวิชาการคิดได้. รายวิชา 4000106 การคิดและการตัดสินใจ บทที่ 5 ตรรกศาสตร์ และ การให้เหตุผล. จัดทำโดย รองศาสตราจารย์ ชะเอม สายทอง. ความหมายของตรรกศาสตร์.

gotzon
Download Presentation

อาจารย์ผู้สอน รศ.ชะเอม สายทอง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อาจารย์ผู้สอน รศ.ชะเอม สายทอง

  2. START

  3. ใครตอบไม่ได้ 1 + 1 มีค่าเท่าไร

  4. ตอบ ถูกต้อง … นะ..คร๊าบ.... เรียนวิชาการคิดได้

  5. รายวิชา 4000106การคิดและการตัดสินใจบทที่ 5 ตรรกศาสตร์ และ การให้เหตุผล จัดทำโดย รองศาสตราจารย์ ชะเอม สายทอง

  6. ความหมายของตรรกศาสตร์ความหมายของตรรกศาสตร์ ตรรก (ภ.สันสกฤต) = ตริตรอง นึกคิด ศาสตร์ = ความรู้ ตรรกศาสตร์ = วิชาที่ว่าด้วยเหตุผล

  7. ตรรกศาสตร์เชิงคณิตศาสตร์ตรรกศาสตร์เชิงคณิตศาสตร์ ตรรกศาสตร์ในระยะแรก มีลักษณะเป็นคำกล่าวที่เกิดจากความเชื่อ ความคิด และใช้ข้อความแสดงเหตุผล นักปรัชญาผู้ศึกษาในเรื่องของการให้เหตุผลเป็นคนแรกคือชาวกรีซ ชื่อ อริสโตเติล ต่อมา การศึกษาตรรกศาสตร์ได้เปลี่ยนจากข้อความเป็นสัญลักษณ์เรียกว่า ตรรกศาสตร์เชิงคณิตศาสตร์(Mathematical logic) หรือ ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์ (Symbolic logic)

  8. อะริสโตเติล (Aristotle) นักคณิตศาสตร์ชาติกรีก389-322 ปีก่อนคริสต์ศักราช (พ.ศ.158-225)

  9. กระบวนการของการให้เหตุและผลกระบวนการของการให้เหตุและผล

  10. กระบวนการของการให้เหตุและผลกระบวนการของการให้เหตุและผล

  11. กระบวนการของการให้เหตุและผลกระบวนการของการให้เหตุและผล

  12. ประเด็นปัญหา สมศักดิ์นำรถไปซ่อมที่อู่ของนายประจวบ ทุกครั้งที่กลับมา สมศักดิ์พบว่ารถของเขาสกปรกมาก ต่อมาสมศักดิ์รู้ว่านายประจวบ เลิกกิจการอู่ซ่อมรถ ไปเปิดร้านขาย อาหาร สมศักดิ์จึงบอกเพื่อน ๆ ว่า อาหารที่ร้านของนายประจวบ สกปรกมาก ทั้ง ๆ ที่สมศักดิ์ไม่เคยไปกินอาหารที่ร้านของนาย ประจวบเลย เหตุการนี้สมศักดิ์ใช้กระบวนการของเหตุและผลหรือไม่

  13. ตอบ เป็นการใช้ขบวนการของเหตุและผล เหตุผลสมศักดิ์ นำประสบการณ์ที่ นายประจวบทำรถยนต์ของเขาสกปรกหลายครั้ง มาเป็นข้ออ้าง สนับสนุน หรือสัมพันธ์ จนทำให้ เกิดผลสรุปใหม่ที่ว่า อาหารที่ร้านของนายประจวบสกปรก

  14. กระบวนการของการให้เหตุและผลมี 3 แบบ คือ 1. การให้เหตุผลเชิงนิรนัย (Deductive resoning) 2. การให้เหตุผลเชิงอุปนัย (Inductive resoning) 3. การให้เหตุผลเชิงสหัชญาณ (Intuitive resoning)

  15. การให้เหตุผลเชิงนิรนัยการให้เหตุผลเชิงนิรนัย เป็นการให้เหตุผลโดยยอมรับเหตุใหญ่และเหตุย่อยว่าเป็นจริง แล้วพิจารณาความสัมพันธ์ของใหญ่กับเหตุย่อย ซึ่งบังคับให้เกิดผลสรุป

  16. ตัวอย่าง 5.1 เหตุ 1. นักศึกษาทุกคนเป็นคนดี เหตุ 2. คนเก่งทุกคนเป็นนักศึกษา เหตุ 3. แดงเป็นคนเก่ง ผลสรุป แดงเป็นคนดี

  17. ใช้แผนภาพเวนน์(Venn diagram)แสดงเซตของคนดี หมายความว่า คนทุกคนที่อยู่ในวงกลมคือคนดี คนดี

  18. เหตุ 1. นักศึกษาทุกคนเป็นคนดีบังคับว่า วงของนักศึกษา ต้องอยู่ในวงของคนดี คนดี นักศึกษา

  19. เหตุ 2. คนเก่งทุกคนเป็นนักศึกษาบังคับว่า วงของคนเก่งต้องอยู่ในวงของนักศึกษา คนดี นักศึกษา คนเก่ง

  20. เหตุ 3. แดงเป็นคนเก่ง บังคับว่า วงของแดงต้องอยู่ในวงของคนเก่ง คนดี นักศึกษา คนเก่ง แดง

  21. ตัวอย่าง 5.2 (ผลสรุปขัดกับความรู้สึกความเป็นจริง) เหตุ 1. นกทุกตัวต้องไม่มีใบหู เหตุ 2. ค้างคาวมีใบหู . ผลสรุป ค้างคาวไม่ใช่นก

  22. เหตุ 1.นกทุกตัวต้องไม่มีใบหู บังคับให้ได้ว่า วงที่แทนนก และวงที่แทนสิ่งที่มีใบหู ต้องแยกออกจากกัน นก สิ่งที่มีใบหู นก

  23. เหตุ 2.ค้างคาวมีใบหู บังคับให้ได้ว่า วงที่แทนค้างคาว ต้องอยู่ในวงของ สิ่งที่มีใบหู สรุปได้ว่า ค้างคาวไม่ใช่นก สิ่งที่มีใบหู นก ค้างคาว

  24. แผนภาพหลักของการให้เหตุผลเชิงนิรนัย มี 4 แบบ A B

  25. แบบที่ 2. A บางตัว เป็น B(บางส่วนของ Aตัดวง B)

  26. แบบที่ 3.ไม่มี Aตัวใดเป็น B (วง A และวง Bแยกกัน) B A

  27. แบบที่ 4.A บางตัวไม่เป็น B (มีบางส่วนของวง Aอยู่นอกวง B)

  28. การใช้ประโยกตรรก จะช่วยให้การเขียนแผนภาพเวนน์ได้ง่ายและชัดเจนยิ่งขึ้นประโยกตรรก ประกอบด้วย 3 ส่วน

  29. ตัวอย่าง 5.3 ตัวอย่างของประโยคตรรก ข้อ 1) ประโยค : นายประยูรเป็นคนใจดีเขียนเป็นประโยคตรรกได้ คือ

  30. การเขียนแผนภาพแสดงประโยคตรรก“ นายประยูรเป็นคนใจดี ” เขียนแผนภาพแสดง คนใจดี ได้คือ คนใจดี

  31. เติมแผนภาพหรือจุดแทน นายประยูร ลงในวงของ คนใจดี คนใจดี นายประยูร

  32. ข้อ 2) คนบางคนไม่เป็นทหารเขียนเป็นประโยคตรรกได้คือ

  33. แผนภาพแสดง “ คนบางคนไม่เป็นทหาร”

  34. ข้อ 3) สุนัขมีหาง เขียนเป็นประโยคตรรกได้คือ

  35. แผนภาพแสดงประโยคตรรก“สุนัข เป็น สิ่งที่มีหาง” แผนภาพของสุนัขต้องบังคับให้อยู่ในวงแผนภาพของสิ่งที่มีหาง สิ่งที่มีหาง สุนัข

  36. ข้อ 3) ต้นไม้บางชนิดรับประทานได้ เขียนเป็นประโยคตรรกได้คือ

  37. แผนภาพแสดง “ต้นไม้บางชนิด เป็น สิ่งที่รับประทานได้” วงของต้นไม้บางส่วนต้องตัดวงของสิ่งที่รับประทานได้

  38. ข้อ 6) ไม่มีหุ่นตัวใดหายใจได้ เขียนเป็นประโยคตรรกได้คือ

  39. แผนภาพแสดง “หุ่นทุกตัว ไม่เป็น สิ่งที่หายใจได้” วงของหุ่นต้องแยกออกจากวงของสิ่งที่หายใจได้ สิ่งที่หายใจได้ หุ่น

  40. ตัวอย่าง 5.4 การให้เหตุผลต่อไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม่ เหตุ 1 นักศึกษาทุกคนเป็นคนฉลาด เหตุ 2 แดงเป็นนักศึกษา ผลสรุป แดงเป็นคนฉลาด

  41. เหตุ 1 บังคับให้เขียนแผนภาพ กลุ่มของนักศึกษาต้องอยู่ในกลุ่มของคนฉลาด 1 คนฉลาด นักศึกษา

  42. เหตุ 2 บังคับให้ เขียนแผนภาพของแดงให้อยู่ในกลุ่มของ นักศึกษา . นักศึกษา แดง

  43. รวมแผนภาพจากเหตุ 1 และเหตุ 2 เข้าด้วยกันสรุปได้ว่า แดงก็อยู่ในกลุ่มของคนฉลาดด้วย . คนฉลาด นักศึกษา แดง

  44. การตรวจสอบว่าการให้เหตุผล สมเหตุสมผลหรือไม่ โดยใช้แผนภาพเวนน์ 1. เปลี่ยนประโยคของเหตุเป็นประโยคตรรก 2. เขียนแผนภาพแทนประโยคตรรก ของเหตุ แต่ละเหตุ 3. รวมภาพของเหตุเข้าด้วยกัน ได้ภาพกี่แบบต้องแสดงจนครบ ผลสรุปคือ ถ้าทุกภาพ สอดคล้องกับผลสรุป จะได้ การให้เหตุผล สมเหตุสมผล ถ้ามีอย่างน้อย 1 ภาพ ขัดกับผลสรุปจะได้ การให้เหตุผล ไม่สมเหตุสมผล

  45. ตัวอย่าง 5.5 การให้เหตุผลต่อไปนี้ สมเหตุสมผลหรือไม่ เหตุ 1. แดงเป็นคนมีเงิน เหตุ 2. คนมีเงินบางคนมีความสุข ผลสรุป แดงมีความสุข

  46. ขั้นที่ 1. เปลี่ยนเป็นประโยคตรรก

  47. ขั้นที่ 2. แสดงแผนภาพของเหตุแต่ละเหตุ คนมีเงิน แดง คนมีเงิน คนมีความสุข

  48. ขั้นที่ 3. รวมเหตุเข้าด้วยกัน คนมีเงิน คนมีเงิน แดง แดง คนมีความสุข คนมีความสุข

  49. มี 1 ภาพคือ แบบที่ 2 ขัดแย้งกับผลสรุป ผลสรุปคือ การให้เหตุผลนี้ จึงไม่สมเหตุสมผล

  50. การให้เหตุผลเชิงนิรนัย โดยใช้ตาราง ขั้นที่ 1 กำหนดตารางให้สอดคล้องกับประเด็นปัญหา ขั้นที่ 2 เขียนพจน์ต่างๆ ที่ปรากฏในประเด็นปัญหาลงในตาราง ขั้นที่ 3 หาความสัมพันธ์ที่สมเหตุสมผลกันระหว่างพจน์เหล่านั้น โดยใส่เครื่องหมาย  ลงในช่องที่เป็นความสัมพันธ์ที่เป็นไปได้ และใส่ X ลงในช่องที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ขั้นที่ 4 ตรวจสอบผลสรุป โดยดูจากช่องที่มีเครื่องหมาย ว่าสอดคล้องกับผลสรุปหรือไม่

More Related