110 likes | 247 Views
Communities of Practice (CoP). ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge). อธิบายได้ แต่ยังไม่ถูกนำไปบันทึก. ( 1 ). อธิบายไม่ได้. อธิบายได้ แต่ไม่อยากอธิบาย. ( 2 ). ( 3 ). ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge). Tomohiro Takanashi. Communities of Practice (CoP).
E N D
ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) อธิบายได้ แต่ยังไม่ถูกนำไปบันทึก ( 1 ) อธิบายไม่ได้ อธิบายได้ แต่ไม่อยากอธิบาย ( 2 ) ( 3 ) ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) Tomohiro Takanashi
Communities of Practice (CoP) “กลุ่มคนที่มีความสนใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่งร่วมกัน มารวมตัวกันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้วยความสมัครใจ เพื่อร่วมสร้างความเข้าใจหรือพัฒนาแนวปฏิบัติในเรื่องนั้น”
CoP กลุ่มคน ประเด็น /หัวข้อ / สาระ Communities of Practice เป็นเครื่องมือที่ทำให้คนในองค์กร มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตลอดเวลา จนกลายเป็นวัฒนธรรมขององค์กร • ความปรารถนาร่วมกัน • สนใจร่วมกัน • มีปัญหาร่วมกัน • เอื้ออาทร • ช่วยเหลือกัน • ร่วมแก้ไขปัญหา ลักษณะ CoP • แก้ปัญหา / แลกเปลี่ยนแนวคิด • พัฒนา/เผยแพร่แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ • ยกระดับ/พัฒนาความรู้ที่ใช้เป็นประจำ • Innovation
สมาชิก CoP ประกอบด้วย • Sponsor • ผู้บริหารที่เห็นความสำคัญและให้การสนับสนุนตามเป้าหมายองค์กร • 2. Facilitator • 3. Historian • 4. Member • ผู้ปฏิบัติงานหรือมีความรู้ในเรื่องที่แลกเปลี่ยน
Facilitator • มีความรู้ในเรื่องนั้น • สร้างบรรยากาศที่เป็นกันเอง ไว้ใจกัน เพื่อเอื้อต่อการ Sharing • บริหารเวลา คนและกระบวนการ CoP ให้บรรลุวัตถุประสงค์ • จุดประกาย กระตุ้น สนับสนุนและให้กำลังใจความคิดดีๆ ให้สมาชิกเล่าประสบการณ์ • ตั้งคำถาม วิเคราะห์ ถามเจาะลึก สรุปประเด็นเพื่อค้นหาความรู้ฝังลึกของสมาชิก
Historian • มีความรู้ในเรื่องที่บันทึก • จับประเด็นได้รวดเร็ว ในเวลาจำกัด • ใช้ภาษาที่สื่อสารตรงกับความรู้สึกหรือเรื่องที่เล่า สละสลวย • สามารถถามย้อนกลับ เพื่อทวนความเข้าใจที่ถูกต้อง • สรุปประเด็นหลักหลังการประชุมทันที
กติกา CoP • ใช้ระยะเวลาประมาณ 1 ชั่วโมง • สมาชิกทุกคนมีประสบการณ์ในเรื่องนั้น • ทุกคนเท่ากัน “ไม่มีนาย ไม่มีลูกน้อง” • พูดในเชิงบวก พูดให้ทุกคนในวงเสวนาฟัง • ไม่มีการโต้ตอบ ไม่ตัดสินใจ • สมาชิกเป็นนักฟังที่ดี ไม่คุยกับเพื่อนข้างๆ • จำนวนสมาชิกไม่เกิน 20 คน หากเกินให้แลกเปลี่ยนหรือติดตามผ่าน KM Web
ปัญหาที่มักพบในการเขียนโครงการปัญหาที่มักพบในการเขียนโครงการ
การบริหารจัดการโครงการการบริหารจัดการโครงการ • เทคนิคการเขียนโครงการที่ดี • เทคนิคการนำเสนอโครงการ • การวิเคราะห์โครงการ • การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) • การบริหารจัดการโครงการ 5.1 เทคนิคการจัดทำ Action Plan 5.2 เทคนิคการติดตามประเมินผล 5.3 เทคนิคการจัดทำรายงาน
แนะนำตัวเอง / ใครเคยทำโครงการใดบ้าง • เกริ่น “ทำไมต้องทำ CoP การบริหารโครงการ” • ใครมีประสบการณ์ ว่าการบริหารโครงการนั้นต้องทำอะไรบ้าง มาเล่าให้เพื่อนสมาชิกฟัง • ในการปฏิบัติจริง พวกเราพบปัญหาอะไรบ้างในการบริหารโครงการ • ประเด็นนี้น่าสนใจ ช่วยขยายความ • หมายถึงอะไร (เขียนโครงการ : • นำเสนอ (ข้อมูลใดต้องนำเสนอ/ ไม่ต้องเสนอ , เอกสารนำเสนอต้องมีอะไรบ้าง) • บริหารโครงการ (ระยะเวลาไม่เป็นไปตามกำหนด, บริหารงบอย่างไร) • ติดตามผล (แบ่งหน้าที่ในการติดตามงานอย่างไร, บทบาทของผู้ติดตามงาน, จะมีวิธีการรายงานผลอย่างไร)