360 likes | 503 Views
BC 427: Comp. App. In Finance. Class 10_Present. แผนการสอน. เนื้อหา ทบทวน Chapter 1: Introduction to Personal Financial Planning Using Quicken Deluxe 99 ทบทวน Chapter 2: Setting up Your Finances ขึ้น Chapter 6: Working with Goals and Objectives. Chapter 1: What is Financial Planning?.
E N D
BC 427: Comp. App. In Finance Class 10_Present โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
แผนการสอน • เนื้อหา • ทบทวน Chapter 1: Introduction to Personal Financial Planning Using Quicken Deluxe 99 • ทบทวน Chapter 2: Setting up Your Finances • ขึ้น Chapter 6: Working with Goals and Objectives โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
Chapter 1: What is Financial Planning? • Personal Financial Planning (การวางแผนทางการเงินส่วนบุคคล) • เป็นขั้นตอนของการควบคุมเรื่องการเงินในอนาคตของบุคคล โดยที่บุคคลต้องเรียนรู้ว่าจะใช้จ่ายเงิน เก็บออมเงิน จัดการความเสี่ยง และ จัดการการลงทุนของตนเองอย่างไร โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
ในการวางแผนทางการเงินนั้นในการวางแผนทางการเงินนั้น • People don’t plan to fail; they just fail to plan. (บุคคลโดยทั่วไปจะไม่วาง “แผน” ไว้เพื่อให้ตนเองล้มเหลว แต่เขามักจะล้มเหลวในการวาง “แผน”) โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
The Financial Planning process (ขั้นตอนในการวางแผนทางการเงิน) มี 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1. Gather Information (รวบรวมข้อมูล) • ใช้เวลามากที่สุด และเป็นขั้นตอนที่ควรมีการทำเป็นประจำ 2. Establish goals and objectives (ตั้งเป้าหมายและจุดประสงค์) • โดยคำนึงถึงความสนุกและความท้าทายสำหรับตนเอง แต่เป็นไปได้ตามฐานะของตนเอง โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
Short-term goals (เป้าหมายระยะสั้น) < 1 ปี • Intermediate-term goals (เป้าหมายระยะกลาง) ตั้งแต่ 1 ปี ถึงระยะเวลา 5 ปี • Long-term goals (เป้าหมายระยะยาว) > 5 ปี ขึ้นไป 3. Prepare personal financial statements (เตรียมงบการเงินส่วนบุคคล) โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
งบดุล (Balance Sheet) • งบกำไรขาดทุน (Income Statement) • งบกระแสเงินสด (Cash Flow Analysis) • งบประมาณ (Budgeting) โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
4. Analyze your present financial position by comparing your current financial position to your goals and create alternative financial strategies (วิเคราะห์สถานะทางการเงินในปัจจุบัน โดยเปรียบเทียบสถานะทางการเงินที่ตนเองมีอยู่กับเป้าหมายที่ตนเองสร้างไว้ และสร้างทางเลือกสำหรับกลยุทธ์ทางการเงินของตนเอง) โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
5. Develop and implement your financial plan (พัฒนาและประยุกต์ใช้แผนทางการเงินของตนเอง) • สรรหากลยุทธ์ทางการเงิน (financial strategy) 6. Review and revise your plan as time goes on. (ตรวจสอบและแก้ไขแผนทางการเงินของตนเองเมื่อเวลาเปลี่ยนไป) โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
Using Quicken in Financial Planning • ในหนังสือจะให้ผู้ใช้ทดลองสร้างข้อมูลของ • Diane Lawrence อายุ 24 ปี • เพิ่งจบจากมหาวิทยาลัย และพักอยู่กับเพื่อน 2 คน • อาศัยในมลรัฐ New Hampshire (นิวแฮมเชียร์) • ทำงานอยู่กับ Raymound, Inc. (บริษัท เรมอลด์) มีตำแหน่งเป็น Financial Analyst (ผู้วิเคราะห์ทางการเงิน) โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
สาระสำคัญทางการใช้โปรแกรม Q. • ต้องรู้ว่า Data File ของโปรแกรม Q. จะประกอบไปด้วย File ข้อมูลย่อยๆ หลายๆ File มีนามสกุล .QDF, .QDB และ .QDT • ความหมายของหน้าจอจากการ Copy(คัดลอก) File • Original File • New Copy โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
ความหมายของ • New Quicken File • New Quicken Account โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
การแปลง Data File • การแปลง Data File สำหรับ Q. มีเพื่อให้ข้อมูลสามารถใช้ได้กับ Version ใหม่ หรือ ผู้ใช้โปรแกรม Microsoft Money สามารถเปิดข้อมูลที่สร้างขึ้นกับ Q. ก็ได้ ก็จะต้องมีการแปลงข้อมูลด้วยเช่นกัน โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
Chapter 2: Setting Up Your Finances • สิ่งที่เพิ่มเติมมาใน V.2002 จาก V.99 ในเรื่องการคัดลอก (Copy) File คือ • V. 99 (หน้า 10) • Copy All Prior Uncleared Transactions • V.2002 • Include All Prior Uncleared Transactions. • Include All Prior Investment Transactions. โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
เมื่อใช้คำสั่ง File | File Operations | Copy ในครั้งแรกกับ File ที่ชื่อ Sampleอยากทราบว่าชื่อ File อันใหม่ ที่โปรแกรม Quicken ตั้งให้โดยอัตโนมัติ (หรือที่เป็นค่า Default) จะมีชื่อว่าอะไร? • ……\SampleCpy.qdf โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
ชื่อ File จากการ Copy สำหรับ Q. โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
การจัดหมวดหมู่ของบัญชีต่างๆ ใน V.2001 โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
โปรแกรม Quicken จำแนก Account Types (ชนิดของบัญชี) ออกได้เป็น 8 กลุ่ม สำหรับ V.99 ได้แก่ • Checking (บัญชีแบบมีสมุดเช็ค หรือ บัญชีกระแสรายวัน) • Saving (บัญชีออมทรัพย์) • Credit Card (บัญชีบัตรเครดิต) • Cash (บัญชีเงินสด) • Money Market (บัญชีแบบ Money Market อ่านว่า มันนี่ มาร์เก็ต) โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
Investment (บัญชีที่เกี่ยวกับการลงทุน) • Asset (บัญชีทรัพย์สิน) • Liability (บัญชีหนี้สิน) โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
โปรแกรม V. 2002 จะจำแนก Account Types เป็นกลุ่มๆ • กลุ่มที่ 1 Banking Accounts (บัญชีธนาคารชนิดต่างๆ) • กลุ่มที่ 2 Investing Accounts (บัญชีที่เกี่ยวกับการลงทุนต่างๆ) โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
Net Worth Statement • ภาพรวมของสถานะทางการเงินของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง ซึ่งแสดงได้โดยการนำ Asset (ทรัพย์สิน) - Liabilities (หนี้สิน) ซึ่งจะได้ผลลัพธ์เป็น Net Worth (ส่วนของเจ้าของ) ได้ดังสมการ Net Worth = Assets - Liabilities โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
กลุ่มที่ 3 Properties & Loan Accounts (บัญชีทรัพย์สินและหนี้สิน) • กลุ่มพิเศษ หรือ กลุ่มที่ 4 (ถ้ามี) คือ Business Accounts (Home & Business only) (กลุ่มบัญชีที่เกี่ยวกับธุรกิจ) ซึ่งจะมีเฉพาะในโปรแกรม Quicken ที่เป็น Version Home & Business only โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
Assets (ทรัพย์สิน) คือ สิ่งที่คุณเป็นเจ้าของหรือมี โดยทั่วไปจัดแบ่งออกเป็น 4 Categories (กลุ่ม) 1. Liquid Assets = Monetary Assets (ทรัพย์สินหมุนเวียน) 2. Personal Assets = Tangible Assets (ทรัพย์สินส่วนตัว หรือ ทรัพย์สินที่จับต้องได้) 3. Intangible Assets (ทรัพย์สินที่จับต้องไม่ได้) 4. Investment Assets = Capital Assets (ทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการลงทุน) โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
สำหรับโปรแกรม Quicken • Checking Account หรือ บัญชีกระแสรายวัน • Money Market Account มีลักษณะเหมือนกับ Checking Account แต่มีส่วนประกอบของ Investment Account รวมอยู่ด้วย • Savings Account แม้ว่าจะมีลักษณะเป็น Investment Account ด้วยแต่จะจำแนกอยู่ในกลุ่ม Liquid Assets เพราะมีลักษณะที่สามารถเปลี่ยนแปลงเป็นเงินสดได้ง่าย โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
Asset Account ใช้สำหรับการบันทึกรายการที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินส่วนตัวทั้งที่จับต้องได้และจับต้องไม่ได้ • Investment Account ใช้สำหรับการติดตามรายการทางการลงทุน โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
Liabilities (หนี้สิน) • Liability Account (บัญชีหนี้สิน) ซึ่งใช้เพื่อติดตามยอดคงเหลือปัจจุบันของหนี้สิน • Credit Card Account (บัญชีบัตรเครดิต) โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
หน้าจอ Account List จะมีปุ่มใช้งานอยู่ 6 ปุ่ม คือ Open, Hide, Info, New, Edit, และ Delete (ดูหนังสือหน้า 17) โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
Quicken Categories-Income and Expenses • Income Statement (งบกำไรขาดทุน) มีลักษณะเหมือนกับ Net Worth Report แต่ Income Statement จะให้รายละเอียดโดยการสรุปเหตุการณ์ทางการเงินที่เกิดขึ้นกับผู้ใช้ ภายในระยะเวลาใดระยะเวลาหนึ่ง • Net Income คือ รายได้ > ค่าใช้จ่าย • Net Loss คือ ค่าใช้จ่าย > รายได้ โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
File สำหรับโปรแกรม Quicken เหมือนกับตู้เอกสารขนาดใหญ่ 1 ตู้ • ที่ผู้ใช้สามารถเก็บ Account ซึ่งเปรียบได้กับลิ้นชักต่างๆ ที่จัดแบ่งกลุ่มรายการที่มีลักษณะคล้ายกันไว้ในลิ้นชักเดียวกัน • Categories จะมีลักษณะเหมือนกันแฟ้มเอกสารต่างๆ ที่อยู่ภายในลิ้นชักที่แต่ละแฟ้มจะมีข้อมูลเกี่ยวกับรายการที่มีลักษณะคล้ายๆ กันเก็บเอาไว้ในแฟ้มเอกสารเดียวกัน โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
Subcategories คือ แฟ้มเอกสารย่อยๆ ที่อยู่ภายในแฟ้มเอกสารใหญ่แฟ้มหนึ่ง Subcategories ใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในการจัดกลุ่มแยกย่อยออกไปอีกลำดับชั้นหนึ่งใน Categories โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
Chapter 6: “Working with Goals and Objectives” • ตัวอย่างของ Goals และ Objectives ของ Diane และ John อยู่ในหน้าที่ 70 Figure ที่ 6-1 • The Time Value of Money • Time Value คือ ความคิดที่ว่าเงิน 1 หน่วย ในเวลาปัจจุบันจะค่าไม่เท่ากับเงิน 1 หน่วยเดียวกัน ในอดีต หรือ ในอนาคต โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
Present Value คือ มูลค่าของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ณ เวลาปัจจุบัน • FutureValue คือ มูลค่าของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ณ เวลาใดเวลาหนึ่งในอนาคต โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
Calculating After-Tax Yields • บุคคลใดบุคคลหนึ่งมีหน้าที่เสียภาษีจากดอกเบี้ย หรือ รายได้จากการลงทุนของตนเองให้กับทางกรมสรรพากร ฉะนั้น จะคำนวณมูลค่าอนาคตของรายได้ โดยใช้อัตราดอกเบี้ยหลังจากหักภาษีแล้ว After-Tax Return สำหรับการลงทุน = i (1 - t ) • i = Interest rate (อัตราดอกเบี้ย) • t = marginal tax rate (อัตราการเสียภาษีกับเงินก้อนสุดท้ายของรายได้ของบุคคล โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
เช่น สมมุติว่าอัตราในการเสียภาษีมีดังนี้ รายได้ถึง 20,000เหรียญสหรัฐ เสียภาษีในอัตรา 15% รายได้ถึง 30,000 เหรียญสหรัฐ เสียภาษีในอัตรา 30% Diane มีเงินเดือน 35,000 เหรียญฯ จะเสียภาษีดังนี้ 20,000 เสียภาษีที่อัตรา 15% 15,000 เสียภาษีที่อัตรา 30% โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
ฉะนั้น marginal tax rate คือ 30% ถ้าหากอัตราดอกเบี้ยของบัญชีออมทรัพย์ของ Diane คือ 4.25% after-tax annual yield คือ i (1 – t ) = 4.25%(1 - 30% ) = 2.975% • การคำนวณโดยใช้ after-tax annual yield มีความสำคัญเพราะ เงินที่จะถูกหักออกไปเสียภาษีในส่วนนี้จะมีผลกระทบต่อรายได้ที่จะเกิดขึ้นจริงในอนาคต โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
Emergency Fund (เงินฉุกเฉิน) คือ เงินฉุกเฉินสำหรับครอบครัวเมื่อเงินรับประจำมีเหตุขัดข้อง เช่น หัวหน้าครอบครัวเกิดอุบัติเหตุไปทำงานไม่ได้ พิการ หรือ ตกงาน โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์