1 / 35

Crystal Field Theory (CFT)

CHEM 223 Inorganic Chemistry II ( เคมีอนินทรีย์ 2). Crystal Field Theory (CFT). อาจารย์พดารัตน์ นิลเจียรนัย สาขาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. 1.

harlow
Download Presentation

Crystal Field Theory (CFT)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. CHEM 223 Inorganic Chemistry II (เคมีอนินทรีย์ 2) Crystal Field Theory (CFT) อาจารย์พดารัตน์ นิลเจียรนัย สาขาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 1

  2. Crystal Field Theory (CFT) (ทฤษฏีสนามผลึก) CFT ถือว่าพันธะในสารประกอบเชิงซ้อนระหว่างไอออนโลหะกับลิแกนด์นั้น ดึงดูดกันด้วยแรงไฟฟ้าสถิตล้วนๆ ดังนั้นลิแกนด์จึงมีผลต่อระดับพลังงานของ d-orbital ของโลหะไอออน โดยปกติแล้วลิแกนด์ในสารประกอบเชิงซ้อนของโลหะทรานซิชัน มักเป็นแอนไอออนหรือโมเลกุลมีขั้ว (polar molecule) 2

  3. z y X สารประกอบเชิงซ้อนรูปออกทะฮีดรอน กรณีที่เป็นโมเลกุลมีขั้ว ปลายด้านลบของลิแกนด์ จะชี้ไปยังแคตไอออนหรือไอออนของโลหะ โดยลองพิจารณาสารประกอบเชิงซ้อนรูป Octahedralซึ่งเป็นโครงสร้างที่มีมากที่สุด รูปแสดงลักษณะการจัดเรียงของลิแกนด์รอบไอออนโลหะ ของสารประกอบเชิงซ้อนรูปออกทะฮีดรอน 3

  4. อิทธิพลของสนามไฟฟ้าจากประจุลบของLigandที่มีผลต่อ d-orbitals ทั้ง 5 ของ Metalจำเป็นต้องเข้าใจ รูปร่าง ทิศทางการจัดตัว และการกระจายของ electronใน d-orbital 4

  5. Ligand / d-orbital interactions Orbitals point atligands (maximum repulsion) Orbitals point between ligands (less pronounced repulsion) 5

  6. Octahedral Complexes อิทธิพลสนามไฟฟ้าจาก L (ligand field srength) 4s มีระดับ E สูงขึ้น --------- nondegenerate 4p มีระดับ E สูงขึ้น แต่ 3 orbitals ที่มีระดับ E เท่ากัน--------- triply degenerate 3d มีระดับ E สูงขึ้น และจากการที่มี lobeชี้ตามแนวแกน และระหว่างแกน ทำให้เกิดการแยกของระดับ E 6

  7. 7

  8. Splitting of the d-orbitals by an octahedral field รูปที่ 4 แสดงแผนภาพระดับพลังงานของ d-orbital ทั้ง 5 ใน Octahedral ระดับพลังงานของ d-orbitals ทั้ง 5 เมื่ออยู่ในสนาม Octahedral ถูกทำให้แยกออกเป็น 2 ชุด 1.ชุดที่มีพลังงานต่ำกว่า ประกอบด้วย dxy, dyz และdzxorbital(สัญลักษณ์ t2g) t2g---> t = 3 orbitals ทีมี E เท่ากัน (triply degenerate) 2.ชุดที่มีพลังงานสูงกว่า ประกอบด้วย dx2-y2และdz2 orbital (สัญลักษณ์ eg) eg ---> e = 2 orbitals ทีมี E เท่ากัน (doubly degenerate) 8

  9. Crystal Field Splitting (คริสตัลฟิลด์สปิททิง; o) หรือ 10 Dq • คือ ความแตกต่างของระดับพลังงานของ d-orbital ทั้ง 2 ชุด • E(eg) - E(t2g) = o = 10 Dq ………. (1) •  E(d) = 0 Dq ………. (2) • จากสมการ (1) และ (2) สามารถคำนวณหาพลังงานของ - พลังงานของระดับ t2gได้เท่ากับ-4 Dq (หรือ -2/5 o) และ-พลังงานของระดับ egได้เท่ากับ +6 Dq (หรือ -3/5 o) • ส่วนพลังงานรวมของ d-orbitals ทั้ง 5 มีค่าเท่ากับ 0 Dq • 10Dq (D and q = ปริมาณที่ได้จากสมการทางคณิตศาสตร์ของแบบจำลองไฟฟ้า สถิตย์ (electrostatic model) 10 เป็นสัมประสิทธิ์ที่ได้จากการคำนวณ 9

  10. หน่วย Dq เป็นค่าที่แปรเปลี่ยนไปตามชนิดของสารประกอบโคออดิเนชัน ค่า Dq นี้ถูกนิยามโดยมีความสัมพันธ์ ดังนี้ Dq = (Ze2 r4) (6d5) เมื่อ z = ประจุของโลหะไอออน e = ประจุของอิเลคตรอน r = ค่ารัศมีเฉลี่ยของ orbital d = ระยะห่างระหว่างโละและลิแกนด์ 10

  11. ปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อขนาดการแยกตัวในสนามแม่เหล็กปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อขนาดการแยกตัวในสนามแม่เหล็ก ค่า 10 Dqหรือ  มักเรียกว่า ค่าความแรงของสนามลิแกนด์ (Ligand field strength) หรือพารามิเตอร์ การแยกตัวในสนามลิแกนด์ (Ligand field splitting parameter) ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบหลายอย่าง ดังนี้ 1.ธรรมชาติของลิแกนด์ อาศัยผลของสเปกตรัมดูดกลืน (absorption spectrum) อาศัยเรียงลำดับความสามารถในการแยกระดับพลังงานระหว่าง t2gและ egหรือค่า 10 Dq โดยเรียงเป็นอนุกรมจากน้อยไปหามาก ดังนี้ I- < Br- < S2- < SCN- < Cl- < NO3- < F- < OH- < C2O42- < H2O < NSC-< CH3CN < NH3 < en < bipy < phen < NO2- < CN- < CO ลำดับดังกล่าวนี้เรียกว่า อนุกรมสเปกโทรเคมี (Spectrochemical series) 11

  12. 2.ประจุของไอออนโลหะ สารประกอบเชิงซ้อนที่โลหะหรือไอออนศูนย์กลางยิ่งมีประจุบวกมากหรือมีประจุเพิ่มขึ้น ย่อมสามารถดึง ligand ให้เข้ามาใกล้ตัวยิ่งขึ้น ดังนั้นจะเกิดอันตรกิริยาทางไฟฟ้าสถิตมาก ค่า 10 Dq ก็จะมากขึ้นด้วย 3.ธรรมชาติของไอออนโลหะ พบว่าไอออนโลหะในแถวเดียวกัน ค่า 10 Dq จะไม่ต่างกันมากนัก แต่ 10 Dq จะเปลี่ยนมากถ้าไอออนโลหะเปลี่ยนจากกลุ่ม 3d 4d 5d จะเพิ่มขึ้นประมาณ 50% 4d 5d จะเพิ่มขึ้นประมาณ 25% ดังนั้น 10 Dq ของโลหะทรานซิชันแถวที่ 2และ 3 จะมีค่ามาก สารประกอบของโลหะพวกนี้จึงมักเป็น low spin 4.ธรรมชาติของพันธะ ระหว่างไอออนโลหะกับลิแกนด์พบว่า 10 Dq ของสารประกอบเชิงซ้อน ซึ่งไอออนโลหะกับลิแกนด์เกิดพันธะต่อกันโดยมีพันธะไพ (-bond) อยู่ด้วยจะมีค่ามาก 12

  13. f-orbitals ระดับพลังงานของ f-orbitals ทั้ง 7 เมื่ออยู่ในสนาม Octahedral ถูกทำให้แยกออกเป็น 3 ชุด 1.ชุดที่มีพลังงานต่ำกว่า ประกอบด้วย fxyz 2.ชุดที่มีพลังงานระดับเดียวกับ Barycenter ประกอบด้วย fz(x2-y2) , fy(x2- y2) และ fx(y2- z2)orbital 3.ชุดที่มีพลังงานสูงกว่า ประกอบด้วย fx3, fy3,fz3 13

  14. Tetrahedral 14

  15. สารประกอบ Cubic complexes • การ split ของ d-orbitals ใน Cubic complexes จะเหมือนกับ tetrahedral complexes • Splitting energy จะเป็น 2 เท่า ใน tetrahedral complexes โดยมี 8 ligands ล้อมรอบ Metal ion = 2t • ค่า นั่นคือ Splitting of the d-orbitals by an tetrahedral field Always weak field (high spin) 15

  16. Square Planar เมื่อ Ligands ตามแนวแกน z ยืดยาวออก > Ligandตามแนวแกน x, y ทำให้พันธะทั้ง 6 ยาวไม่เท่ากัน จึงทำให้โครงสร้างบิดเบี้ยวจาก Octahedral เป็น tetrahedral เนื่องจากผลกระทบจาก Jahn-TellerEffect Z หลุดออกจาก Metal จะได้ square planar 16

  17. Splitting of the d-orbitals in a square planar 17

  18. Case I : Strong Field (low spin) o > P Esystem = Eo + Eo + P เมื่อP = Pairing energy E2 E2   E1 E1 Electron Configuration in d-orbitals Case II : Weak Field (high spin) o < P Eo = Eo + Eo + E เมื่อEo = E ของ electron แต่ละตัว 18

  19. Pairing Energy (P) (พลังงานการเข้าคู่) เป็นพลังงานที่ถูกเพิ่มเข้าไปในพลังงานศักย์ของระบบ เนื่องมาจากการเข้าคู่ของอิเลคตรอน 2 ตัว ในระดับพลังงานเดียวกัน ซึ่งเป็นผลมาจากการผลักกันของอิเลคตรอนทั้งสองตัว E2  E1 19

  20. Crystal-field Stabilization Energy พลังงานที่ทำให้สารเชิงซ้อนมีความเสถียร อันเนื่องมาจากสนามไฟฟ้าจาก ligand ที่มีอิทธิพลต่อการแยกของ d-orbital ของ metal ion ที่ถูก ligand ล้อมรอบโดยหาจากโครงแบบอิเลคตรอนในไดอะแกรมพลังงานของ d-orbital CFSE = x(-0.4 Dq) + y(+0.6 Dq) + P เมื่อ x = จำนวนอิเลคตรอนในชั้น lower levels y = จำนวนอิเลคตรอนในชั้น upper levels 20

  21. CFSE of Octahedral complexes 21

  22. อิทธิพลของสนามไฟฟ้าจาก Ligandที่มีต่อการแยกระดับพลังงานของ d-orbitalซึ่งมีผลต่อโครงสร้าง และสมบัติเทอร์โมไดนามิกของสารเชิงซ้อน • D-orbital ที่มีการแยกของระดับพลังงาน จะทำให้การกระจายของอิเลคตรอน รอบๆนิวเคลียสของ Metal ion ไม่เป็นทรงกลม ทำให้มีผลต่อรัศมีไอออน ; Metal ion ที่มีประจุ +2 ในสนามไฟฟ้า octahedral (high spin cpx.) 22

  23. 23

  24. Placing electrons in d-orbitals Strong field Weak field Strong field Weak field 24

  25. Placing electrons in d-orbitals (cont.) 25

  26. แบบที่1 แบบที่ 2 Magnetic properties of metal complexes ความเป็นแม่เหล็กพิจารณาได้จากค่าแมกเนติกโมเมนต์ของสาร แมกเนติกโมเมนต์จะเกิดขึ้นเมื่ออนุภาคที่มีประจุใดๆมีการเคลื่อนที่ ในกรณีของอิเลคตรอน จะมีการเคลื่อนที่ได้ 2 แบบ คือ 2) การหมุนรอบตัวเองของอิเลคตรอน เรียกว่า “Spin-only magnetic moment ; ms” โดยพบว่าแบบ msมีอิทธิพลต่อความเป็นแม่เหล็กที่ได้จากการทดลองมากกว่า แบบ mLดังนั้นความสัมพันธ์ระหว่างms และจำนวนอิเลคตรอนเดี่ยว มีความสัมพันธ์ดังนี้ เมื่อ n =จำนวนอิเลคตรอนเดี่ยว ms =spin-only magnetic 1) การเคลื่อนที่รอบนิวเคลียส เรียกว่า“Orbital magnetic moment ; mL ” 26

  27. Measured magnetic moments include contributions from both spin and orbital spin. In the first transition series complexes the orbital contribution is small and usually ignored. 27

  28. Jahn-Teller Effect • ปี 1937 Jahn-Teller ค้นพบ Jahn-Teller Effect • รูปร่างของโมเลกุลพวก non-linear ซึ่งมี e-อยู่ในกลุ่ม orbital ใดๆ ที่มีระดับพลังงานเท่ากันต้องบิดเบี้ยวไป เพื่อทำให้ความเท่ากันของระดับพลังงานของ orbital ทั้งหลายหมดไป เกิด orbital ที่มีพลังงานต่ำกว่าเดิม โมเลกุลจึงมีความเสถียรมากขึ้น • โครงสร้างบิดเบี้ยว จึงทำให้สมมาตรลดลงและมีการแยกของ degenerate electronic state ที่ไม่เสถียรนั้น 28

  29. Jahn-Teller Effect เกิดขึ้นได้ 2 แบบ แบบที่ 1 แบบที่ 2 • Z-out : Ligands แนวแกน z ยืดยาวออกไป 2) Z-in : Ligands (or compression) แนวแกน z ถูกหดสั้นลงไป 29

  30. เมื่อ ligand ในแนวแกน z ถูกยืดยาวออก เวลวเกิด distortion สนามไฟฟ้าจาก ligand ในแนวแกน z จะน้อยกว่าแนวอื่น Distort z-outได้ complexes ที่มี 4 พันธะสั้น 2 พันธะยาว Distort z-in ได้ complexes ที่มี 4 พันธะยาว 2 พันธะสั้น D-orbitalที่มีแกน z เป็นองค์ประกอบ มีระดับพลังงานต่ำกว่า d-orbital ที่ไม่มีแกน z เป็นองค์ประกอบ 30

  31. โลหะที่อยู่ในสภาวะนี้จะมีอายุสั้นมาก ทำให้โครสร้างของ cpx. ที่ equilibrium เกิดอยู่ได้ชั่วเวลาสั้นมาก รูปร่างบิดเบนไปกลับมาเป็นแบบเดิมอย่างรวดเร็ว เรียกว่า Jahn-Teller Effect แบบdynamic • ได้ spectrum เป็น band กว้าง ไม่มีสมมาตร เช่น [Ti(H2O)6]3+ t2g1 eg0ext2go eg1 [CoF6]3-t2g4 eg2ext2go eg1 Jahn-Teller Effect + Metal (excited state) 31

  32. จากกราฟตัวอย่าง หากมี Jahn-Teller Effect จะได้ spectra ที่มีไหล่ peak 32

  33. Thermodynamic ของการแยกระดับพลังงานของ d-orbital 33

  34. Lattice energy 34

  35. Thank you 35

More Related