260 likes | 503 Views
การบริหารความเสี่ยง. RISK MANAGEMENT. ผู้อำนวยการโรงพยาบาล. โครงสร้างการทำงาน. คณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล. ผู้จัดการคุณภาพโรงพยาบาล. คณะกรรมการบริหารและจัดการความเสี่ยงโรงพยาบาล. ประธานคณะกรรมการ เลขานุการและผู้ช่วยเลขานุการ. ผู้จัดการความเสี่ยงประจำโปรแกรม
E N D
การบริหารความเสี่ยง RISK MANAGEMENT
ผู้อำนวยการโรงพยาบาล โครงสร้างการทำงาน คณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล ผู้จัดการคุณภาพโรงพยาบาล คณะกรรมการบริหารและจัดการความเสี่ยงโรงพยาบาล ประธานคณะกรรมการ เลขานุการและผู้ช่วยเลขานุการ ผู้จัดการความเสี่ยงประจำโปรแกรม 1. ระบบบริการทางการแพทย์ (PCT) 2. ความปรอดภัยในการใช้ยา(ME) 3. การควบคุมและเฝ้าระวังการติดเชื้อ(IC) 4. จริยธรรมและสิทธิผู้ป่วย (ET) 5. ระบบข้อมูลสาระสนเทศ(IM) 6. โครงสร้างและความปลอดภัย ( ENV ) / เครื่องมือ 7. การพัฒนาบุคลากร ( HRD ) 8. ระบบส่งเสริมสุขภาพ ( HP ) หัวหน้างานในฐานะ ผู้จัดการความเสี่ยงประจำหน่วยงาน ผู้ประสานงานความเสี่ยงประจำหน่วยงาน อนุกรรมการจริยธรรม – สิทธิผู้ป่วย รับเรื่องร้องเรียนและประนีประนอม (ET)
บทบาทหน้าที่ • กำหนดขั้นตอนกระบวนการบริหารจัดการความเสี่ยงระดับโรงพยาบาล • ออกแบบฟอร์ม แบบรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง/เหตุการณ์การไม่พึงประสงค์(incident Report) • พัฒนาระบบการป้องกัน และแก้ไขความเสี่ยงที่สำคัญ และเกิดบ่อยในหน่วยงาน • ให้ความรู้และสร้างความตระหนักให้เจ้าหน้าที่ทุกคนในหน่วยงาน ในเรื่องการบริหารความเสี่ยง
บทบาทหน้าที่ 5.เก็บรวมรวมและสรุปอุบัติการณ์ความเสี่ยงทั้งหมดในโรงพยาบาล ส่งศูนย์คุณภาพ ( QMR) และผู้อำนวยการ พร้อมทั้งนำเสนอคณะกรรมการบริหาร ทุกเดือน โดยสรุป - เชิงปริมาณ คือ จำนวนอุบัติการณ์ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นในแต่ละเดือน - เชิงคุณภาพ คือ แยกโปรแกรมความเสี่ยง และระดับความรุ่นแรง 6.ติดตามและประเมินผลการการแก้ไข้ปรับปรุงระบบ พร้อมสรุปรายงานส่งศูนย์คุณภาพ (QMR)และผู้อำนวยการหลังการดำเนินการตามระบบใหม่ภายใน 1 เดือน 7.ปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องการบริหารความเสี่ยงตามที่ได้รับมอบหมายจากผู้อำนวยการ
เป้าหมาย • เพื่อสร้างความตระหนักในการป้องกันและแก้ไขความเสี่ยง • เพื่อให้ผู้ป่วย ญาติ และเจ้าหน้าที่ปลอดภัย ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่ป้องกันได้ • เพื่อค้นหาความเสี่ยงเชิงรุก สร้างระบบเฝ้าระวังที่ไวต่อการดักจับปัญหา
การแบ่งประเภทความเสี่ยงการแบ่งประเภทความเสี่ยง • ความเสี่ยงด้านคลินิก • ด้านกายภาพ • เหตุการณ์พึงสังวร
การแบ่งระดับความรุนแรงของความเสี่ยงด้านClinicการแบ่งระดับความรุนแรงของความเสี่ยงด้านClinic
การแบ่งระดับความรุนแรงของความเสี่ยงด้านกายภาพการแบ่งระดับความรุนแรงของความเสี่ยงด้านกายภาพ ระดับความรุนแรงแบ่งออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้ 1. ความรุนแรงระดับน้อย หมายถึง โอกาสที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง หรือเกิดขึ้นแต่ไม่ทำให้องค์กร, หน่วยงานเสียหายหรือเจ้าหน้าที่ได้รับอันตราย ค่าเสียหายไม่เกิน 10,000 บาท 2. ความรุนแรงระดับปานกลาง หมายถึง มีผลกระทบทำให้เกิดการปฏิบัติงานให้บริการขัดข้องต้องใช้เวลาในการแก้ไขเหตุการณ์มากกว่า 1 วัน ค่าเสียหายมากกว่า 10,000 – 100,000 บาท
การแบ่งระดับความรุนแรงของความเสี่ยงด้านกายภาพการแบ่งระดับความรุนแรงของความเสี่ยงด้านกายภาพ 3. ความรุนแรงระดับสูง หมายถึง ทำให้งานเกิดความเสียหาย/เสื่อมเสียชื่อเสียงขององค์กร,หน่วยงาย ไม่สามารถให้บริการหรือปฏิบัติงานได้ต้องใช้เวลาในการแก้ไขเหตุการณ์มากกว่า 7 วัน ค่าเสียหายมากกว่า 100,000 บาทขึ้นไป
เกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์เกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ ขั้นตอนระบบการจัดการความเสี่ยงในโรงพยาบาลไชยวาน ผู้พบหรือได้รับผลกระทบ จากเหตุการณ์ • แก้ไขเบื้องตนทันที • รายงานหัวหน้า • ลงบันทึกเหตุการณ์ประจำวันหรือใบเฝ้าระวัง ผู้ประสานงานความเสี่ยง ประจำหน่วยงานนั้นรวบรวม แจ้งผู้ทำให้เกิดเหตุการณ์หรือหัวหน้าหน่วยงานที่ต้องรับผิดชอบโดยตรง เป็นเหตุการณ์ที่ไม่พึง ประสงค์จริงหรือไม่ ? ส่งรายงานความเสี่ยงประจำเดือน ไม่ใช่ ยุติเรื่อง B A
(ต่อ) A B เขียนใบรายงานเหตุการณ์ (ใบสีเชมพู)(ใบ IR) แล้วเสนอหัวหน้าเซ็นทราบและให้ความเห็นเพิ่มเติม ส่งเลขา RM ลงทะเบียนรับเรื่อง เลขา RM ส่งใบ IR นี้ให้ผู้จัดการความเสี่ยงประจำโปรแกรม ในคณะกรรมการที่รับผิดชอบ เข้าตรวจสอบเบื้องต้นที่หน่วยงานนั้นโดยเร็ว สรุประดับความรุนแรงและสาเหตุพร้อมทั้งลงความเห็นเพื่อร่วมกันดำเนินการต่อไป สรุปผลการตรวจสอบเบื้องต้น C
(ต่อ) C เป็นเหตุการณ์ NEARMISS ที่สำคัญ ใช่หรือไม่ ? ไม่ใช่ เป็นเหตุการณ์ SENTINEL EVENTS A - F G - I ในใบ IR เสนอผู้อำนวยการเพื่อทราบและ / หรือสั่งการเพิ่มเติมจากที่ผู้จัดการความเสี่ยงได้ลงความเห็นไว้ เพื่อรับมาดำเนินการต่อไป D E
(ต่อ) D E สำเนาใบ IR ให้หน่วยงานที่รับผิดชอบ ดำเนินการให้แล้วเสร็จตามที่ตกลงกันไว้ เมื่อดำเนินการเสร็จแล้ว ให้ส่งเอกสารทั้งหมดมาที่ผู้จัดการ ความเสี่ยงในคณะกรรมการที่รับผิดชอบเพื่อตรวจสอบความเหมาะสมและความครบถ้วนของมาตรการ ฯ ผลการตรวจสอบ ไม่เห็นชอบ ส่งหน่วยงานแก้ไข เห็นชอบ สรุปปิด CASE นี้ ลงชื่อผู้จัดการความเสี่ยง ฯ ทั้งในใบ IR และมาตรการ ฯ G F
F G เลขา RM ประธาน RM ตรวจสอบอีกชั้น ไม่เห็นชอบ เห็นชอบและลงชื่อ นำเสนอผู้อำนวยการพิจารณาอนุมัติใช้มาตรการ ฯ เลขา RM สำเนาให้คณะกรรมการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตัวจริงเก็บเข้าแฟ้มแยกรายคณะกรรมการ
ความเสี่ยงที่สำคัญของโรงพยาบาลความเสี่ยงที่สำคัญของโรงพยาบาล • ตกเลือดหลังคลอด • เกิด Hypoglycemia ขณะนอนโรงพยาบาล • ใส่ ETT ลงท้อง • เจ้าหน้าที่ถูกของมีคมทิ่มตำ • เจ้าหน้าที่ติด TB
สรุปความเสี่ยงปีงบประมาณ 2553 จำนวนทั้งสิ้น 385 เรื่อง / 1,222 ครั้ง แบ่งเป็นดังนี้ 1. PCT 119 เรื่อง 205 ครั้ง 2. ME 52 เรื่อง 202 ครั้ง 3. IC 41 เรื่อง 148 ครั้ง 4. ET 3 เรื่อง 5 ครั้ง
สรุปความเสี่ยงปีงบประมาณ 2553 • IM 110 เรื่อง 297 ครั้ง • ENV 20 เรื่อง 24 ครั้ง • เครื่องมือ 28 เรื่อง 317 ครั้ง • HRD 9 เรื่อง 19 ครั้ง • ET 3 เรื่อง 5 ครั้ง
สรุปความเสี่ยง ต.ค.53 – มิ.ย. 54จำนวนทั้งสิ้น 353 เรื่อง 717 ครั้ง แบ่งเป็นดังนี้
สรุปความเสี่ยง ต.ค.53 – มิ.ย. 54
ตัวชี้วัดความเสี่ยงที่สำคัญตัวชี้วัดความเสี่ยงที่สำคัญ
กราฟแสดงร้อยละ PPH (ต.ค. 53 –มิ.ย.54) 8.2 4
กราฟแสดงจำนวน Hypoglycemia ขณะนอนโรงพยาบาล (ต.ค. 53 –มิ.ย.54) ปีงบประมาณ
กราฟแสดงจำนวน Case ใส่ ETT ลงท้อง (ต.ค. 53 –มิ.ย.54)
กราฟแสดงจำนวนเจ้าหน้าที่ถูกของมีคมทิ่มตำ (ต.ค. 53 –มิ.ย.54)
กราฟแสดงจำนวนเจ้าหน้าที่ติดวัณโรคปอด (ต.ค. 53 –มิ.ย.54) ปีงบประมาณ