220 likes | 734 Views
Case Study. โสพิน พิมเทพา นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สสอ.อุทุมพรพิสัย. กลุ่มคน 4 ประเภท.
E N D
Case Study โสพิน พิมเทพา นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สสอ.อุทุมพรพิสัย
กลุ่มคน 4 ประเภท • พร้อมที่จะพัฒนางาน ตนเอง ให้ดีขึ้นทันทีที่มีแนวคิดและวิธีการ สามารถทำไปด้วยตนเอง ไม่ต้องรอ คนมาบอก คิดว่าตนเองมีศักยภาพ พอที่จะทำได้ และหาโอกาสที่จะทำอยู่ตลอดอย่างมีความสุข คิดว่าประโยชน์ที่ได้ คือ ผู้ป่วย/ผู้รับบริการ และหน่วยงานเอง
กลุ่มคน 4 ประเภท • พร้อมที่จะพัฒนางาน แต่รอ คำสั่ง รอดูผลประโยชน์ว่ามีมากน้อยเพียงไร สามารถ ทำเองได้ แต่รอคำสั่ง • ลังเล พวกมากลากไป อะไรก็ได้ • ยืนยันว่าตนเองทำดีแล้ว ไม่จำเป็นต้องพัฒนางานใดๆ ทำไปก็แค่นั้น มักจะไม่ค่อยยอมเข้าร่วมในเวทีแลกเปลี่ยน แต่ถ้าแลกกับผลประโยชน์ ก็พร้อมจะทำ
ปฐมภูมิ กรณีศึกษา • เพราะบริการปฐมภูมิเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ • มีความสลับซับซ้อนไม่มีสูตรตายตัว ไม่สามารถลอกเลียนกันได้ต้องมาปรับใช้ตามบริบทของตนเอง • แค่เป็นเครื่องมือที่จุดประกายความคิดแล้ว สิ่งใหม่ๆขึ้นในตัวเอง • สร้างฐานความรู้ไว้ให้ศึกษา สร้างผู้รู้ในระบบ primary care เรื่องต่างๆที่ทำด้วยตนเอง • ตกผลึกด้วยตนเองและสามารถสอนผู้อื่นได้
ลักษณะของ Case Study • เริ่มที่ “ความสำเร็จ”หรือความ”ล้มเหลว”ที่เห็นผลชัดเจน • เป็นกระบวนการที่เป็นเหตุและผล • ไม่ใช่เรื่องที่เกิดขึ้นโดยบังเอิญ • มีข้อมูลเปรียบเทียบ สถานการณ์ ก่อนหลัง • มีข้อมูลที่สามารถวิเคราะห์กระบวนการที่เกิดขึ้น
กรณีศึกษาที่ดี • ใหม่ ไม่เหมือนใคร Originality • สร้างสรรค์ Creative • สร้างผลกระทบได้ Impact • นำไปใช้กับที่อื่นได้ Replicable • การนำเสนอที่ดี สั้น กระชับ ตรงเป้า เข้าใจง่ายและไม่มีอคติ
เข้าตามหลักเกณฑ์ หรือไม่ ?
ทดลองเขียน.....หาหัวข้อเรื่องที่คิดว่าเราทำดีแล้วอยากที่จะแลกเปลี่ยนกับ รพ.สต.แห่งอื่นๆ
แนวทางการเขียน Case Study • ความเป็นมาหรือหลักการและเหตุผล (อ้างอิงแนวคิดหลัก ของแนวคิดสุขภาพปฐมภูมิ เช่นความเป็นธรรม , การเข้าถึง ประสิทธิภาพ, ระบบการดูแลต่อเนื่อง,การดูแลแบบองค์รวม, งานสุขภาพเชิงรุก, ความเป็นมนุษย์,การดูแลตนเองที่บ้าน ขอให้มองในเชิงระบบ ไม่ใช่ความคิดส่วนตัวของคนใดคนหนึ่ง ) • สถานการณ์ปัญหาที่เผชิญ ( ปัญหาหลักๆ อะไรก่อนการปรับปรุงแก้ไข อาจนำเสนอเป็นตัวเลข ด้วย)
แนวทางการเขียน Case Study • แนวคิดหรือแนวทางใหม่ ( หลักๆ อ้างอิงและเชื่อถือได้) • ขั้นตอนการดำเนินงาน (ตามกิจกรรมที่ทำ) • ผลลัพธ์(ที่ต่างจากเดิม)ก่อนและหลังการดำเนินงานเปรียบเทียบชัดเจน อาจจะเสนอเป็นตัวเลข) • วิเคราะห์และอภิปรายผล(ดึงประเด็น ( key ) แห่งผลสำเร็จออกมาให้เห็นชัดเจน) • สรุป(เรื่องนี้สอนให้รู้ว่า..)(ย้ำให้คนอ่านเข้าใจในประเด็นหลักให้มากขึ้น)
เข้าตามหลักเกณฑ์ หรือไม่ ?
ทดลองเขียน.....(10 นาที) หาหัวข้อเรื่องที่คิดว่าเราทำดีแล้วอยากที่จะแลกเปลี่ยนกับ รพ.สต.แห่งอื่นๆ
เราจะทำอะไรต่อ • เลือก เครื่องมือ ทางวิชาการ เพื่อนำมาเขียน / ทบทวน อย่างน้อย รพ.สต.ละ 1 เรื่อง (ในลักษณะ best practice) • เฉพาะ case study ให้ส่ง รพ.สต.ละ 1 เรื่อง เพื่อที่จะนำไปร่วมนำเสนอ ที่งาน มหกรรมสุขภาพ ที่ กทม. กลางเดือน ตุลาคม 54 นี้
หลักเกณฑ์การเขียน Best Practice • ชื่อเรื่อง หมายถึง ชื่อของผลการดำเนินงานที่เป็นเลิศ (Best Practice) ของ PCU/รพ.สต. • ความเป็นมา หมายถึง ความเป็นมาของกิจกรรมสำคัญที่ตอบสนองต่อการดำเนินงาน PCU/รพ.สต. • วิธีปฏิบัติที่ทำให้เกิดผลงานที่ประสบความสำเร็จ หมายถึง วิธีการทำงาน (How to) ที่ทำให้เกิดเป็นผลงานที่เป็นเลิศและสอดคล้องกับการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล • ผลการปฏิบัติงานที่ภาคภูมิใจ หมายถึง ผลลัพธ์หรือผลกระทบที่เกิดจากวิธีปฏิบัติในข้อ ที่แล้ว ที่ทำให้ทีม • ผู้ปฏิบัติเกิดความภาคภูมิใจ
หลักเกณฑ์การเขียน Best Practice • อุปสรรคที่เกิดขึ้นระหว่างการปฏิบัติงาน หมายถึง อุปสรรคที่เกิดขึ้นจากวิธีการปฏิบัติ • ข้อเสนอแนะ สำหรับวิธีการปฏิบัติงานครั้งต่อไปให้ดีขึ้น ประกอบด้วย 1) ข้อเสนอแนะสำหรับตนเอง/ทีม/หน่วยงาน (สำหรับการปฏิบัติในครั้งต่อไปให้ดียิ่งขึ้น) 2) ข้อเสนอแนะสำหรับผู้อื่นและ/หรือหน่วยงานอื่น (สำหรับการนำวิธีการนี้ไปปฏิบัติ) • ความรู้ใหม่ที่ได้จากวิธีการปฏิบัติงานในข้อ 5.3 หมายถึง ความรู้ใหม่ที่ผู้ปฏิบัติ/ทีม/หน่วยงานได้รับจากการ ปฏิบัติงานจนได้ผลงานที่เป็นเลิศนี้
แบบฟอร์มพร้อมคำอธิบายสำหรับพิมพ์บทคัดย่อการประกวดผลงานที่เป็นเลิศ (Best Practice) “PCU/โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดศรีสะเกษ” ประจำปี 2554 • ชื่อเรื่อง(ภาษาไทย) …………………………………………………………………….............. • (ภาษาอังกฤษ) ………………………………………………………………................. • คณะผู้จัดทำ……………………………………………………………................................. • สถานที่ทำงาน ……………………………………………………………...................................... • หลักการและเหตุผล: • วัตถุประสงค์: กล่าวถึงสมมติฐาน และเป้าหมายของการศึกษา อย่างสั้น รัดกุม และและได้ใจความ • วิธีการดำเนินงาน: อธิบายถึงองค์ประกอบที่สำคัญของการดำเนินงาน • ....................................................................................... • ....................................................................................... • ....................................................................................... • ....................................................................................... • ผลการดำเนินงาน: อธิบายถึงผลการดำเนินงานที่สำคัญ ที่สอดคล้องกับวิธีการดำเนินการ • สรุป: สรุปผลการศึกษาอย่างสั้น รัดกุมและชัดเจน โดยเน้นถึงความสำคัญและ • ผลกระทบของการศึกษา รวมทั้งข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาหรือแก้ปัญหา • Key word :
แนวคิดการส่งผลงาน • - การพัฒนาระบบบริการเชิงรุกใน PCU/โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล และในชุมชน • - การเชื่อมโยงระบบส่งต่อกับโรงพยาบาลแม่ข่าย • - การให้บริการต่อเนื่องและการให้คำปรึกษาตลอด 24 ชั่วโมง • - การเยี่ยมบ้าน ดูแลสุขภาพที่บ้าน และการใช้บ้านเป็นเรือนผู้ป่วย (กลุ่มเป้าหมาย เด็ก วัยรุ่น สตรี ผู้พิการ • ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยจิตเวช ผู้ติดยาเสพติด ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง การจัดบริการสุขภาพช่องปาก) • - การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค การแพทย์แผนไทย การปรับพฤติกรรมสุขภาพ (การคุ้มครองผู้บริโภค) • - ฯลฯ
ส่งผลงาน ก่อน 28 มีนาคม 2554 ในรูปแบบไฟล์