391 likes | 977 Views
Khonkaen University Educational Administration #2012. วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษา เรื่อง แนวคิด การบริหารเชิงมนุษย สัมพันธ์. Principle and Education Administration System. Human Relation Approach. แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ ยุคที่ 2 ของวิวัฒนาการการบริหารการศึกษา.
E N D
Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ Principle and Education Administration System Human Relation Approach แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ ยุคที่ 2 ของวิวัฒนาการการบริหารการศึกษา
Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ สมาชิก • นายชัชชัย โชมขุนทด รหัส 555050152-2 • นางพรเพ็ญ สมบูรณ์ รหัส 555050164-5 • นางสาวละคร เขียนชานาจ รหัส 555050174-2 • นางสาวยุวดี ไชยนิจ รหัส 555050245-5 • นางสาวบุษกร บุญทศ รหัส 555050161-1 • นายภานุวัฒน์ สิงห์หาญ รหัส 555050168-7 • นางสาวนิชนันทร์ บุญสา รหัส 555050157-2 • นางเพ็ญศรี กัลยาณกิตติ รหัส 555050243-9
Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ ความหมายของมนุษยสัมพันธ์ • อริสโตเติล ( Aristotle ) • มนุษย์เป็นสัตว์สังคม มีปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน ทำให้พวกเขารู้สึกปลอดภัย • พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน • ความสัมพันธ์ในทางสังคม ระหว่างมนุษย์ ซึ่งจะก่อให้เกิดความเข้าใจอันดีต่อกัน โดยมีการติดต่อสื่อสารกัน ระหว่างบุคคล ระหว่างกลุ่ม เพื่อให้ทราบความต้องการของแต่ละบุคคล หรือกลุ่ม • อำนวย แสงสว่าง • การแสวงหา เพื่อทำความเข้าใจ การติดต่อสัมพันธ์กัน ระหว่างบุคคล เป็นผลก่อให้เกิดความเชื่อมโยง เพื่อให้ได้ผลสำเร็จตามเป้าหมายขององค์การ ของแต่ละบุคคลที่ได้กำหนดไว้
Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ ความหมายของมนุษยสัมพันธ์ • David, Keith.กระบวนการจูงใจของบุคคลอย่างมีประสิทธิผล และมีประสิทธิภาพ โดยมีความพอใจในทางเศรษฐกิจ • Edwin B. Flippoการรวมคนให้ทำงานร่วมกันในลักษณะที่มุ่งให้เกิดความร่วมมือประสานงานความคิดริเร่มสร้างสรรค์เพื่อให้บังเกิดและบรรลุเป้าหมาย • ชลอธรรมศิริ • เป็นความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เพื่อยึดเหนี่ยวระหว่างกัน ให้เกิดความรักใคร่ชอบพอ ความร่วมมือร่วมใจในการทำกิจกรรม • ให้บรรลุเป้าหมาย และดำเนินชีวิตให้มีความราบรื่น
Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ ความหมายของมนุษยสัมพันธ์ มนุษยสัมพันธ์ หมายถึง กระบวนการของศาสตร์ที่ใช้ศิลปะสร้างความพอใจ รักใคร่ ศรัทธา เคารพนับถือ โดยแสดงพฤติกรรม ให้เหมาะสมทั้งทางกาย วาจา และใจ เพื่อโน้มนำให้มีความรู้สึกใกล้ชิดเป็นกันเอง จูงใจให้ร่วมมือร่วมใจ ในอันที่จะบรรลุสิ่งซึ่งพึงประสงค์อย่างราบรื่น และอยู่ในสังคมได้อย่างสันติสุข ความหมายในแง่จิตวิทยามนุษยสัมพันธ์ หมายถึง การแสดงพฤติกรรมต่อกันในระบบสังคม เนื่องจากจิตวิทยาเป็นศาสตร์ที่ศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์นักจิตวิทยาจึงให้ความหมายของมนุษยสัมพันธ์ในสภาวะของการแสดงพฤติกรรมโต้ตอบกันในสังคม
Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ สรุปความหมายของมนุษยสัมพันธ์ • เป็นความสัมพันธ์ทางสังคม ของบุคคลหรือกลุ่มบุคคล ที่มีการติดต่อสื่อสารและเชื่อมโยงกัน เป็นทั้งศาสตร์และศิลปะเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันและการบรรลุจุดมุ่งหมายขององค์การเพื่อความราบรื่นในการดำรงชีวิตให้ปลอดภัยหรือปลอดพ้นอุปสรรค
Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ ประวัติความเป็นมาของมนุษย์สัมพันธ์ 1.ยุคบรรพกาล มนุษย์เกิดมาพร้อมกับการรวมกลุ่ม 2.ยุคสังคมเปลี่ยนแปลง -ก่อนปฏิวัติอุตสาหกรรม -หลังปฏิวัติอุตสาหกรรม
ประวัติความเป็นมาของมนุษยสัมพันธ์ประวัติความเป็นมาของมนุษยสัมพันธ์ ประวัติความเป็นมาของมนุษย์สัมพันธ์ สภาพแวดล้อมไม่ดี กดขี่บังคับลูกจ้าง ขาดแคลน ใช้แรงงานคนแบบทาส -ก่อนปฏิวัติอุตสาหกรรม ทำงานหนัก สุขภาพทรุดโทรม ยากจน
Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ ประวัติความเป็นมาของมนุษย์สัมพันธ์ -หลังปฏิวัติอุตสาหกรรม ->ผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการปรับปรุงงานด้านมนุษยสัมพันธ์ “และถือกันว่าเป็นปฐมบิดร” คือ โรเบิร์ต โอเวน (Robert Owen) ->ค.ศ. 1835 แอนดรูว์ เออร์ (Andrew Ure) ->ระยะต้นปี ค.ศ. 1900 เฟรเดอริค เทเลอร์ผู้ซึ่งได้รับสมญานามว่า “บิดาแห่งการจัดการแบบวิทยาศาสตร์” ->หลังสงครามโลกจนถึงปัจจุบัน -> ค.ศ. 1910 แมรี่ ฟอลเลทท์ (Mary Follett) ->1920 และปี 1930 เอลตัน เมโย (Elton Mayo)
Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ ความสำคัญของมนุษย์สัมพันธ์ - สร้างความสามัคคีธรรม - สังคมปกติสุข - เป็นการสร้างสรรค์สังคม - งานต่างๆ ประสบความสำเร็จ - ทำให้คนแตกต่างจากสัตว์อื่น - ตระหนักในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ - งานทุกอย่างบรรลุเป้าหมายตามที่องค์กรต้องการ - ก่อให้เกิดความนิยม ความชอบ ความเชื่อ ความศรัทธา ความปลอดภัย เศรษฐกิจ สังคมการเมือง
Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ องค์ประกอบของมนุษย์สัมพันธ์ แผนภูมิแสดงองค์ประกอบของแนวความคิดมนุษยสัมพันธ์
Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ ทฤษฎีที่สำคัญของแนวคิดมนุษยสัมพันธ์ เป็นยุคที่มีความเชื่อว่างานใด ๆ จะบรรลุผลสำเร็จได้จะต้องอาศัยคนเป็นหลัก นักบริหารกลุ่มนี้จึงหันมาสนใจศึกษาพัฒนาทฤษฎี วิธีการและเทคนิคต่าง ๆ ทางด้านสังคมศาสตร์ พฤติกรรมและกลุ่มคนในองค์การ บุคคลสำคัญในยุคนี้ได้แก่ Abraham Maslow Mary Follette RensisLikert Elton Mayo Douglas McGregor Chris Argyris
Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ Mary Parker Follette(แมรี่ ปาคเกอร์ ฟอลเลท) เป็นชาวอเมริกัน ได้เขียนตำราที่มีแนวคิดในเชิงมนุษยสัมพันธ์ เช่น เขียนเรื่องความขัดแย้ง การประสานความขัดแย้ง กฎที่อาศัยสถานการณ์ และความรับผิดชอบ เสนอแนวทางการแก้ปัญหาความขัดแย้ง(Conflict) ไว้ 3 แนวทาง Domination Integration Compromise คือ ใช้อำนาจอีกฝ่ายสยบลง คือให้อีกฝ่ายแพ้ให้ได้ ไม่ดีนัก คือ คนละครึ่งทาง เพื่อให้เหตุการณ์สงบโดยประนีประนอม คือ การหาแนวทางที่ไม่มีใครเสียหน้า ได้ประโยชน์ทั้ง 2 ทาง (ชนะ ชนะ)
Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ Elton Mayo (เอลตันเมโย) เป็นชาวออสเตรีย นักจิตวิทยาจากมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด เริ่มต้นจากคำถามว่า “จะเป็นไปได้หรือไม่ ถ้าหากว่าพนักงานได้รับการดูแลเป็นพิเศษแล้ว ประสิทธิภาพการทำงานก็จะเพิ่มขึ้น” Hawthorn Study
Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ Hawthorn Study การศึกษาทดลองที่ฮอร์ทอร์น Hawthorn Studyมีขึ้นที่บริษัท Western Electric Company ในชิคาโก ระหว่าง ค.ศ.1927-1932 การทดลองดังกล่าวได้เกิดขึ้นภายใต้ควบคุมของ Elton Mayo (เอลตัน เมโย) การศึกษาดังกล่าวนี้เริ่มต้นด้วยการสำรวจความสัมพันธ์ระหว่าง สภาพแวดล้อมทางกายภาพ (Physical Environment) กับประสิทธิภาพในการทำงาน (Productivity)
Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ Hawthorn Study การศึกษาทดลองที่ฮอร์ทอร์น วิธีการศึกษา 1.ศึกษาสภาพของห้องทำงาน (ใช้ระยะเวลา 26 เดือน) มีทั้งสิ้น 13 ขั้นตอนในการทดลองครั้งนี้2.การสัมภาษณ์ (Interview Studies) 3.การสังเกต (Observation Studies) ศึกษาจากคนงานจำนวน 21,000 คน ของโรงงาน Western Electric Company โดยเทคนิคการสัมภาษณ์ ทำให้ทราบว่าโครงสร้างองค์การแบบไม่เป็นทางการมีบทบาทและทำหน้าที่เป็นกลไกทางสังคม ต่อการเรียนรู้และการทำงานของคนงานรวมถึงมีบทบาทเป็นตัวกำหนดคุณภาพของผลงานของคนงานด้วย การสังเกต เพื่อสังเกตการปฏิบัติงานของกลุ่มคนงานพันขดลวดโทรศัพท์ โดยใช้ระบบการตอบแทนตามหลักวิทยาศาสตร์การจัดการ คือทำงานได้มากได้ค่าตอบแทนมาก
Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ Hawthorn Study
Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ Hawthorn Study สรุปผลการศึกษาได้ ดังนี้ ปทัสถานสังคม (ข้อตกลงเบื้องต้นในการทำงาน) เป็นตัวกำหนดปริมาณผลผลิต ไม่ใช้ปัจจัยด้านกายภาพ ความคิดที่ว่าคนเห็นแก่ตัว ต้องการเงินค่าตอบแทนมากๆเป็นการมองแคบๆ พฤติกรรมของคนงานถูกกำหนดโดยความสัมพันธ์ภายในกลุ่ม สนับสนุนให้มีการทำวิจัยด้านผู้นำต่างๆ ผู้นำต้องเปิดโอกาสให้คนในองค์การเข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ Hawthorn Study การศึกษาทดลองที่ฮอร์ทอร์น การเปรียบเทียบข้อดีข้อเสียตามแนวคิดของ Mayo
Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ Abraham Maslow (อับราฮัม มาสโลว) เสนอทฤษฎีลำดับขั้นของความต้องการโดยตั้งสมมติฐานของการจูงใจไว้ 3 ประการ มนุษย์มีความต้องการอยู่ตลอดเวลา ความต้องการที่รับการตอบสนองแล้วจะไม่เป็นแรงจูงใจหรือเป็นสิ่งกระตุ้น สำหรับพฤติกรรมนั้นอีกต่อไป ความต้องการของคนมีลักษณะเป็นลำดับขั้นจากต่ำไปหาสูงตามลำดับความสำคัญ ประจักษ์ในคุณค่า ยกย่องและยอมรับ ความต้องการทางสังคม ความต้องการความมั่นคง ความต้องการทางกายภาพ
Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ DouglasMcGregorดักกลาส แมคเกรเกอร์ ได้เขียนหนังสือชื่อ The Human Side of Enterprise ได้อธิบายไว้ว่า การจูงใจคนงานมีอยู่ 2 วิธี คือ วิธีเดิม เรียกว่า ทฤษฎี X และวิธีแบบมนุษยสัมพันธ์เรียกว่าทฤษฎี Y
Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ DouglasMcGregorดักกลาส แมคเกรเกอร์ แนวคิดของทฤษฎีX มนุษย์มีสันดานขี้เกียจ พยายามหลีกเลี่ยงงาน มนุษย์เห็นแก่ตัวคิดถึงแต่ตัวเอง มนุษย์มีนิสัยต่อต้านการเปลี่ยนแปลง มนุษย์ไม่ฉลาดนัก ถูกหลอกง่าย แนวคิดของทฤษฎีY • มนุษย์ทุกคนมีความรับผิดชอบ • มนุษย์ไม่เฉื่อยชา • มนุษย์ทุกคนมีพื้นฐานที่ดี
Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ DouglasMcGregorดักกลาส แมคเกรเกอร์ การเปรียบเทียบข้อดีและข้อเสียตามแนวคิดของ McGregor
Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ Frederick Herzbergเฟรดเดอริค เฮิร์ชเบิร์ก ทฤษฎีการจูงใจกับสุขวิทยา Motivation – Hygiene • -ปัจจัยทางสุขวิทยา(Hygiene Factors)-ความเข้าใจในนโยบายและการบริหารของบริษัท • - การบังคับบัญชา • - ความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น • - เงินเดือน • - สภาพแวดล้อม • -ปัจจัยจูงใจ(Motivation Factors) - ความสำเร็จในการปฏิบัติงาน • - การได้รับการยอมรับจากคนอื่น • - การมีโอกาสก้าวหน้าในงาน • - การได้ทำงานที่ถนัด • - ความรับผิดชอบที่เหมาะสมกับตำแหน่ง เฮิร์ชเบิร์กได้แนะนำการจูงใจอีก 3 วิธี+1. การปรับปรุงงาน +2. การเพิ่มขยายงาน +3. การหมุนเวียนสับเปลี่ยนตำแหน่งงาน
Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ Chris Argyrisคริส อาร์จิริส ได้เขียนหนังสือชื่อ Personality and Development โดยนำเสนอ ทฤษฎีพัฒนาการด้านบุคลิกภาพ 1. มนุษย์ที่มีสุขภาพจิตดี 2. การจัดองค์การแบบระบบราชการ เป็นอุปสรรค.. 3. การออกแบบองค์การแบบราชการ จะไม่ส่งผลให้องค์การเกิดประสิทธิผล
Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ RensisLikert (เรนสิส ไลเกอท) ศึกษาถึงความจำเป็นในการใช้ทรัพยากรมนุษย์และทุนประเภทอื่นๆ ในฐานะที่ เป็นทรัพย์สินที่มีค่าของกิจการ จุดมุ่งหมายเพื่อหาทางช่วยองค์การให้เปลี่ยนมุมมองจาก x ให้เป็น Y โดยให้ความสำคัญกับปัจจัยสุขวิทยา และพัฒนาไปสู่ปัจจัยจูงใจ
Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ RensisLikert (เรนสิส ไลเกอท) ระบบการจัดการ 4 ระบบ ดังนี้ ระบบที่ 1 ฝ่ายจัดการไม่มีความมั่นใจหรือความไว้วางใจใน ผู้ใต้บังคับบัญชา ระบบที่ 2 ฝ่ายจัดการเริ่มมีความมั่นใจและไว้วางใจในตัวผู้ใต้บังคับบัญชาเพิ่มขึ้นในลักษณะเจ้านายกับคนใช้ ระบบที่ 3 ฝ่ายจัดการมีความมั่นใจและไว้วางใจในตัวผู้ใต้บังคับบัญชามากแต่ก็ยังไม่เต็มที่ ระบบที่ 4 ฝ่ายจัดการมีความมั่นใจและไว้วางใจในตัวผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างเต็มที่ การตัดสินใจมีการกระจายไปสู่ทุกๆ ส่วนขององค์การ
Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ แนวคิดทฤษฎีการบริหารบนพื้นฐานของมนุษยสัมพันธ์ 1. ไม่ยึดมั่นในกระบวนการ และผลลัพธ์เพียงอย่างเดียว 2. ให้ความสำคัญกับคนถือว่าคนเป็นทรัพยากรที่มีค่า 3. ความแตกต่างของคน เป็นสิ่งที่ดี และ จำเป็นต่อการบริหารองค์การ 4. ผู้บริหารต้องมีความรู้ด้านการบริหารจัดการ 5. บรรยากาศในการทำงาน เอื้อต่อการปฏิบัติงาน 6. ให้ความสำคัญต่อความหมายในความเป็นมนุษย์ 7. ผู้บริหารต้องเป็นที่ยอมรับของผู้ใต้บังคับบัญชา
Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ การประยุกต์ใช้หลักมนุษยสัมพันธ์ในการบริหารการศึกษา 1. ผู้บริหารควรสร้างมนุษยสัมพันธ์อันดีกับครูเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม 2. ปัญหาเรื่องมนุษยสัมพันธ์ ซึ่งในเบื้องต้นไม่ค่อยมีความสำคัญแต่ต่อมาได้รับการยอมรับมากขึ้น 3. ผู้บริหารสามารถสร้างภาวะผู้นำแบบประชาธิปไตยได้มากกว่าเพราะตำแหน่งเอื้ออำนวยให้ 4. ครูทุกคนรวมเป็นกลุ่มสังคมที่ซับซ้อน ผู้บริหารจะต้องร่วมงานกับครูเหล่านี้ด้วยความระมัดระวัง 5. ครูและเจ้าหน้าที่ทุกคนที่ได้รับผลกระทบกระเทือนต่อการตัดสินใจควรจะมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ หลักการสร้างมนุษยสัมพันธ์ 10 ข้อ สรุปได้ดังนี้ 1. บุคคลย่อมมีความแตกต่างกัน (individual difference) 6. บุคคลมีความรับผิดชอบ (responsibility) 2. การพิจารณาศึกษาบุคคลต้องดูทั้งหมดในฐานะที่บุคคลนั้นเป็นบุคคลคนหนึ่ง 7. บุคคลต้องการเอาใจเขามาใส่ใจเรา (empathy) 3. พฤติกรรมของบุคคลแต่ละคนต้องมีสาเหตุ (caused behavior) 8. บุคคลต้องการผลประโยชน์ซึ่งกันและกัน (mutual interest) 4. บุคคลทุกคนมีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ (human dignity) เสมอกัน 9. บุคคลต้องการพัฒนาศักยภาพของตนให้ถึงขีดสุด (self development) 5. บุคคลต้องการที่จะติดต่อสื่อสาร (communications) 10. บุคคลต้องการที่จะเรียนรู้และมีความรับผิดชอบ (responsibility)
Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ ขอเชิญร่วมอภิปราย ? ? -ซักถาม ประเด็นที่สนใจ