710 likes | 1.17k Views
E D 5501 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ Learning Measurement and Evaluation 3( 2-2-5 ). หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู พ.ศ. 2557 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราช ภัฏ เชียงใหม่. อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์ สาขาวิชาการประเมินและการวิจัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราช ภัฏ เชียงใหม่
E N D
ED 5501การวัดและประเมินผลการเรียนรู้Learning Measurement and Evaluation3(2-2-5) หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู พ.ศ. 2557 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์ สาขาวิชาการประเมินและการวิจัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ FB : Pimthong Sungsutthipong ตึก 27 ชั้น 1 คณะครุศาสตร์ ตึกการศึกษาพิเศษ ตึก 23 ชั้น 1 ห้อง 2312 ห้องมุมขวา
จุดมุ่งหมายหลักสูตร • 1. คุณธรรม จริยธรรม • 2. ความรู้ • 3. ทักษะทางปัญญา (ทักษะการคิดขั้นสูง : คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ แก้ปัญหา สร้างสรรค์) • 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ • 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1 แนวการสอน 2 รูปแบบการเรียนการสอน 3 ความสำคัญของการวัดและประเมินผลการศึกษา 4 จุดมุ่งหมายของรายวิชา 5 การเตรียมตัวของนักศึกษา
แนวการสอน • - คำอธิบายรายวิชา • - จุดประสงค์รายวิชา • - เนื้อหารายวิชา • - กิจกรรมการเรียนการสอน • - สื่อ เอกสารประกอบการสอน แบบฝึก • - การวัดและประเมินผลการเรียน • - เกณฑ์การประเมินผล
รูปแบบการเรียนการสอน • + การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ • + จุดมุ่งหมายการเรียน 4 Pillars : UNESCO • Learning to know • Learning to do • Learning to be • Learning to live together • + Adult Learner : Cooperative, Self Directed Learning • เรียนแบบร่วมมือ ใช้ IT + ประสบการณ์ + ค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ • สื่อการสอน เอกสาร แหล่งข้อมูล online การประเมินผลการศึกษา Project-Based Learning Research-Based Learning
ทำไมต้องเรียน?? • + พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 • + มาตรฐาน สมศ. การประเมินคุณภาพ ด้านครู • + มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาของคุรุสภา • หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (๕ ปี) • มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ • (สาระความรู้ และ สมรรถนะของครู) • + หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 • - 8 กลุ่มสาระ 1 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน • - 5 ทักษะ • - 8 คุณลักษณะอันพึงประสงค์
การวัดและประเมิลผล กับ การปฏิรูปการศึกษาไทย • มุ่งให้คนไทย • - ดำเนินชีวิตด้วยปัญญา • - สามารถคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาได้อย่างรอบคอบ • - ตัดสินใจอย่างฉลาด • - มีคุณธรรม • - มีวิสัยทัศน์กว้างไกล • - เป็นคนแห่งการเรียนรู้ • - อยู่ในสังคมปัจจุบันได้อย่างมีความสุข http://www.youtube.com/watch?v=XqvXKuhgWIE
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ O : Objective ผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด ต้องส่งเสริมให้สามารถพัฒนาตนเอง ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ L : Learning กระบวนการ จัดการเรียนการสอน สมศ. กำหนด มาตรฐาน ประเมิน รับรอง E : Evaluation วัดและประเมินทุกด้าน
กำหนดเป้าประสงค์หรือความต้องการทางการศึกษาของชาติกำหนดเป้าประสงค์หรือความต้องการทางการศึกษาของชาติ ปรัชญาการศึกษา องค์ประกอบของการศึกษา กำหนดคุณลักษณะต่างๆที่จะทำให้ผู้เรียนบรรลุปรัชญา หลักสูตร ดำเนินการหรือปฏิบัติเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร การสอน ติดตามผลการใช้หลักสูตรหรือการเรียนการสอน การวัดผล ผลย้อนกลับ หาข้อเท็จจริงหรือข้อบกพร่องเกี่ยวกับการปฏิบัติการสอน การวิจัย
องค์ประกอบของการจัดการศึกษาองค์ประกอบของการจัดการศึกษา O : Objective E : Evaluation L : Learning
พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 “การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ” มาตรา ๒๖ ให้สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียนโดยพิจารณาจากพัฒนาการ ของผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรมและการทดสอบควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการสอนตามความเหมาะสมของแต่ละระดับและรูปแบบการศึกษา ให้สถานศึกษาใช้วิธีการที่หลากหลายในการจัดสรรโอกาสการเข้าศึกษาต่อ และให้นำผลการประเมินผู้เรียนตามวรรคหนึ่งมาใช้ประกอบการพิจารณาด้วย
มาตรา 49 ให้มีสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) องค์การมหาชน ทำหน้าที่ > พัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก และทำการประเมินผล การจัดการศึกษา > ตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา โดยคำนึงถึงความมุ่งหมายและ หลักการ และแนวการจัดการศึกษาในแต่ละระดับตามที่กำหนดไว้ใน พระราชบัญญัติ > ประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาทุกแห่งอย่างน้อยหนึ่งครั้ง ในทุกห้าปีนับตั้งแต่การประเมินครั้งสุดท้าย > เสนอผลการประเมินต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณะชน
มาตรฐานของ สมศ. ด้านครู • มาตรฐานที่ 9 ครูมีความรู้ความสารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ • ตัวชี้วัดที่ 7 ครูมีการประเมินผลการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับสภาพการเรียนรู้ที่จัดให้ผู้เรียน และอิงพัฒนาการของผู้เรียน (การประเมินตามสภาพจริง)
มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา ของคุรุสภา
จุดมุ่งหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 • 1. ผู้เรียนทุกคนมีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม • 2. มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก • 3. ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข • 4. มีความรู้และทักษะพื้นฐาน เจตคติที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
การวัดประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 • วัดประเมินระดับชั้นเรียน สถานศึกษา เขตพื้นที่ • 8 กลุ่มสาระ 1 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน • 1 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน • การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน • 5 ทักษะ • 8 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ http://www.curriculum51.net/
การวัดประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตร การศึกษานอกระบบ พ.ศ. 2551 (ปรับปรุง 2555) • การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้หมวดวิชา • การประเมินกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต • การประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 9 ประการ • การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การเตรียมตัวของนักศึกษา • > เอกสารตำราที่เกี่ยวกับหลักการวัดและประเมินผล • > เอกสารหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี ๒๕๕๑ • > เอกสารหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ ตามสังกัดของนักศึกษา • > เอกสารเกี่ยวกับการวัดประเมินผลการศึกษาขั้นพื้นฐาน • > แนวทางการวัดและประเมินผลทักษะ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ http://www.curriculum51.net/
คำสำคัญทั้ง 3 มีความหมายว่าอย่างไร ? 1. การทดสอบ Testing 2. การวัดผล Measurement 3. การประเมินผล Evaluation
กระบวนการประเมินผลการศึกษากระบวนการประเมินผลการศึกษา Testing การทดสอบ Measurement การวัด Evaluation การประเมิน
การทดสอบ Testing เครื่องมือ พฤติกรรม การกระทำ สังเกตได้วัดได้ แบบทดสอบ คำถาม สถานการณ์ กระบวนการที่ใช้เครื่องมือ ซึ่งอาจเป็นสถานการณ์ คำถาม คำสั่ง ไปกระตุ้น / เร้า ให้สิ่งที่ถูกทดสอบเกิดการเปลี่ยนแปลง แสดงออก ในรูปของปฏิกิริยา สีหน้า ท่าทาง การเขียน พูด หรือพฤติกรรม ที่สังเกต / วัดได้
การวัดผลการศึกษา Educational Measurement พฤติกรรม การกระทำ ความสามารถ ปริมาณ กำหนด ให้ค่า โดยใช้เครื่องมือที่มีคุณภาพ จำนวน อันดับ กระบวนการกำหนด / ให้ค่าเป็นปริมาณจำนวน อันดับรายละเอียดของพฤติกรรม /ความสามารถ ของบุคคลที่เกิดขึ้นจากการศึกษา ใช้เครื่องมือเป็นหลักในการวัดให้ได้ตัวเลขข้อมูล รายละเอียดแทนจำนวน / คุณลักษณะ ดำเนินการอย่างเป็นระบบมีขั้นตอน
การวัดผล Measurement • ด้านกายภาพศาสตร์ (รูปธรรม) • ความสูง น้ำหนัก ความยาว ระยะทาง • มีเครื่องมือวัดแน่นอน เป็นมาตรฐาน • ด้านสังคมศาสตร์ (นามธรรม) • การวัดพฤติกรรม การแสดงออกในลักษณะต่างๆ • เครื่องมือวัดไม่แน่นอน ต้องสร้างเครื่องมือวัดให้เหมาะสม มีคุณภาพ น่าเชื่อถือ • ตัวเลขเชิงปริมาณที่กำหนด เป็นเพียงตัวเลขสมมติ
มาตราการวัดMeasurement Scale • > การวัดเป็นการกำหนดตัวเลข หรือ สัญลักษณ์ แทนปริมาณ คุณภาพ คุณลักษณะของสิ่งที่ถูกวัด • > ข้อมูลผลการวัด จะมีระดับการวัดแตกต่างกัน • > ระดับการวัดแตกต่างกัน ต้องเลือกใช้การวิเคราะห์ที่เหมาะสม • มี 4 ระดับการวัด (4 Levels of Measurement) • นามบัญญัติ Nominal scale นาย 2 สอง • จัดอันดับ Ordinal scale เศรษฐีอันดับ 2 สองของโลก • อันตรภาค Interval scale ทำคะแนนภาษาอังกฤษได้ 2 คะแนน • อัตราส่วน Ratio scale มีเงิน 2 ล้านบาท
นามบัญญัติNominal scale นายสอง • > เป็นระดับการวัดหยาบ ๆ • > จำแนกสิ่งที่ถูกวัดเป็นกลุ่มๆ พวก ประเภท • รหัสนักศึกษา เลขที่บ้าน เบอร์โทรศัพท์ • > ถ้าต้องวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ให้รหัสแทนแต่ละกลุ่ม • เพศชาย แทนด้วย 1 เพศหญิง แทนด้วย 2 • ตรงเวลา แทนด้วย 1 ไม่ตรงเวลา แทนด้วย 0 • ตัวเลขไม่มีความหมายด้านปริมาณ / คุณภาพ • > ไม่สามารถ บวก ลบ คูณ หาร เรียงอันดับคุณภาพ เปรียบเทียบ กันได้
มาตรา จัดอันดับOrdinal scale เศรษฐีอันดับสองของโลก • > จำแนกผลการวัดเป็นอันดับได้อย่างมีความหมาย • > ตัวเลขบอกเพียงอันดับที่ดีกว่า / ด้อยกว่ากัน • > ตัวเลขไม่แสดงปริมาณที่แท้จริง ช่วงห่างของความแตกต่าง ไม่แน่นอน • > นำตัวเลข บวก ลบ กันได้บางกรณีเท่านั้น • ความมีวินัย 3=มาก 2= ปานกลาง 1=น้อย • ความประพฤติ 3 = ดีมาก 2 = ดี 1 = พอใช้ • ภาพวาดดอกไม้ 1= สวยที่สุด 2=สวยมาก 3 = สวย
มาตราอันตรภาค Interval scale ทำคะแนนภาษาอังกฤษได้ 2 คะแนน • > วัดได้ละเอียดกว่านามบัญญัติ จัดอันดับ • > แบ่งผลการวัดเป็นกลุ่ม จัดอันดับได้ บอกช่วงห่างของผลการวัดได้ • > ช่วงตัวเลขมีความแตกต่างเท่ากัน จะมีค่าเท่ากัน 1,2,3,4,5…….. • 25-30, 30-35, 35-40, ……………… • >เป็นการวัดเชิงปริมาณที่แท้จริง ตัวเลขนำมาบวก ลบได้อย่างมีความหมาย • > ไม่ใช่ศูนย์แท้ แต่เป็นศูนย์เทียม หรือศูนย์สมมติ Arbitrary Zero • นักเรียน 2 คน ตอบคำศัพท์ภาษาไทย 10 คำ ผิดหมด ได้ 0 คะแนน • นร.ที่ตอบได้ 8 คะแนนไม่สามารถบอกได้ว่าเก่งกว่า นร.ที่ได้ 0 คะแนน • > ข้อมูลผลการวัด เช่น คะแนน ระดับสติปัญญา
มาตรา อัตราส่วนRatio scale มีเงิน 2 ล้านบาท • > เป็นมาตรการวัดละเอียดที่ละเอียด สมบูรณ์แบบที่สุด • > มีศูนย์แท้ Absolute Zero • > ตัวเลขสามารถบอกเป็นจำนวนได้ ช่วงความแตกต่างเท่ากัน • > ตัวเลขนำมาบวก ลบ คูณ หาร ได้ ใช้สถิติเชิงปริมาณได้ทุกรูปแบบ • นายสอง สูง 180 เซนติเมตร มีเงิน 2 ล้านบาท • นายสาม สูง 165 เซนติเมตร มีเงิน 20 ล้านบาท • > ได้จากการวัดด้วยเครื่องมือมาตรฐาน • น้ำหนัก ส่วนสูง อายุ ระยะทาง ความกว้างยาว
การประเมินผล Evaluation การตัดสิน ตีค่าโดยอาศัยเกณฑ์ + คุณธรรม ผู้ประเมิน การประเมินผลEvaluation การประเมินผลการศึกษาEducational Evaluation การประเมินผลการศึกษาEducational Evaluation ได้ - ตก เกณฑ์คุณภาพ การตัดสินการตีค่า พฤติกรรมที่เกิดจากการศึกษา ผ่าน - ไม่ผ่าน ดี - เลว กระบวน การเรียนการสอน ปรับปรุงการเรียนการสอน และพัฒนาผู้เรียน
กระบวนการประเมินผลการศึกษากระบวนการประเมินผลการศึกษา กระบวนการทดสอบ พฤติกรรม ที่สังเกตได้ เครื่องมือ สถานการณ์ คำถาม เปลี่ยนแปลง เร้า ผู้ถูกทดสอบ กระบวนการวัดผล ปริมาณ ตัวเลข หน่วย วัด นับ ให้ค่า เครื่องมือ สิ่งที่ถูกวัด กระบวนการประเมินผล สิ่งที่ถูก ประเมิน ตัดสินคุณภาพ ผ่าน - ไม่ผ่าน ตีค่า เปรียบ เทียบ เกณฑ์
กิจกรรมที่ 1 • ให้ศึกษา ทำความเข้าใจองค์ความรู้ การวัดและประเมินผล 9 ประเด็นความหมาย, ความสำคัญ, กระบวนการ, ประเภทจุดมุ่งหมาย, ประโยชน์, ปรัชญา หลักการวัดและประเมิน, คุณธรรมผู้ประเมิน • สรุปองค์ความรู้เป็นผังความคิด รายบุคคลใช้การเขียน ตกแต่งได้อย่างอิสระ และอ้างอิงแหล่งค้นคว้าส่งสัปดาห์หน้า ในห้องเรียน
กิจกรรมการเรียน สัปดาห์ต่อไป • 1. ให้ศึกษาหลักสูตร กลุ่มสาระฯ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง • จาก www.curriculum51.net หรือ • www.er.cmru.ac.th • >> เอกสาร อ.ไพรศิลป์ • > หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวชี้วัด ๘ กลุ่มสาระ • เลือกเนื้อหาสาระที่จะใช้ในการวัดประเมินผลการศึกษา • ให้ตรงกับรายวิชาที่สอน • 3. เตรียมเอกสารแนวทางการวัดประเมินผลตามหลักสูตร • 4. แหล่งเรียนรู้ online • www.watpon.com
พบกัน สัปดาห์หน้าพฤติกรรมทางการศึกษา
การวัดผล ประเมินผล จุดมุ่งหมายการศึกษา พฤติกรรมพื้นฐานผู้เรียน การเรียนการสอน ประเมิน หลังเรียน ตัดสินผล ประเมินก่อนเรียน กระตุ้น – เร้า ความพร้อม • ปรัชญาการศึกษา • หลักสูตร • จุดหมายหลักสูตร • จุดมุ่งหมายรายวิชา • จุดมุ่งหมายการเรียนรู้ ประเมิน ระหว่างเรียน ปรับปรุง การสะท้อนกลับ Feed back ความสำคัญของการประเมินผล ต่อกระบวนการทางการศึกษา
ขั้นตอนการประเมิน หลังเรียน Summative evaluation ก่อนเรียน Pre-evaluation ระหว่างเรียน Formative evaluation • ตรวจสอบความรู้ ทักษะพื้นฐาน • วางแผนการสอน เนื้อหา วิธีสอน • กระตุ้นเร้าให้ตื่นตัว • เปรียบเทียบพัฒนาการ ก่อน-หลัง • บรรลุจุดประสงค์เนื้อหา หรือไม่ ขั้นใด • กระตุ้น เร้า จูงใจ สนใจ เอาใจใส่ • ปรับปรุง ซ่อมเสริม ข้อบกพร่องของผู้เรียน • ปรับปรุงการสอน • ทราบความสามารถ ของผู้เรียน ความสำเร็จ ในการเรียน • ความสามารถโดยรวม • ปรับปรุงแก้ไขการเรียน การสอน • ตัดสินผลการเรียน • เลื่อนระดับ ซ่อมเสริม ปรับปรุงแก้ไข
ประโยชน์ของการประเมินประโยชน์ของการประเมิน • ผู้เรียน • ทราบความสามารถ ความถนัด เลือกเรียน อาชีพ • ผู้สอน • ทราบคุณภาพ ผลการสอน ปรับปรุงพัฒนา วิจัยการสอน • ผู้บริหาร • วางแผนแก้ไขพัฒนา วิจัยสถานศึกษา • ผู้ปกครอง • ส่งเสริม สนับสนุน ผู้เรียน
1. การประเมินผลแบบอิงเกณฑ์ มีคุณภาพเท่าไร อย่างไร ผ่าน / ไม่ผ่าน เทียบ ตัดสิน เกณฑ์ มาตรฐาน ผลการวัด ประเภทของการประเมินผล 2. การประเมินผลแบบอิงกลุ่ม เก่ง/อ่อน ลำดับในกลุ่ม ตัดสิน เทียบ ผลการวัด ความสามารถ ในกลุ่ม