420 likes | 549 Views
Thais’ Dream. ฝันยิ่งใหญ่ของคนไทย. Mission / Vision / Values. 3 Statements That Can Change the World:. pur·pose. 1. the reason for which something exists or is done, made, used, etc. 2. an intended or desired result; end; aim; goal . 3. determination; resoluteness.
E N D
Thais’ Dream ฝันยิ่งใหญ่ของคนไทย
Mission / Vision / Values 3 Statements That Can Change the World:
pur·pose 1. the reason for which something exists or is done, made, used, etc. 2. an intended or desired result; end; aim; goal. 3. determination; resoluteness. 4. the subject in hand; the point at issue. 5. practical result, effect, or advantage: to act to good purpose.
Synonyms for purpose ambitionaspirationdesire Determination Direction Function Goal Idea Intent Objective Plan Principle project Reasonscheme scope target view wish animus bourn calculation design destination dream drift end expectation hope mecca mission object point premeditation proposal proposition Prospect resolve will big idea intendment ulterior motive What for where one's headed whole idea why and wherefore
เป้าหมายการพัฒนา(GOAL) :ประเทศไทยในความฝัน
ความเชื่อและอุดมการณ์: Believe/Ideology อุดมการณ์ทางการเมือง หมายถึง แนวความคิดทางการเมืองที่นำไปปฏิบัติจริง มีอิทธิพลต่อกระบวนการทางการเมือง ตลอดจนการใช้อำนาจรัฐ และการให้ความชอบธรรมแก่รัฐบาล นอกจากนี้ยังสะท้อนสภาพของสังคมและวัฒนธรรมทางการเมืองของแต่ละชุมชน อุดมการณ์ทางการเมืองจะมีส่วนประกอบที่สำคัญคือลักษณะที่ชัดเจน ประติดประต่อกัน เป็นระบบ อุดมการณ์ทางการเมือง สังคม เศรษฐกิจ (5 กลุ่มใหญ่ๆ) Communism Socialism Liberalism Conservatism Fascism
วิสัยทัศน์:Thailand2050 ด้านสังคม เศรษฐกิจ ทรัพยากร สิ่งแวดล้อมและความมั่นคงของมนุษย์ ด้านการเมือง การปกครองและความมั่นคงของประเทศ
Value : ค่านิยมหลัก • The only way we can create an amazing future for our communities is if we do our work in a way that reflects universally shared values. This ensures we do not squander our time and resources rationalizing our actions, and it helps ensure we are not potentially squandering our community's goodwill.
ค่านิยม 12 ประการ(ตามนโยบายของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ) 1. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์สามสถาบันหลักของชาติ 2. ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน 3. กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครู 4. ใฝ่หาความรู้ทั้งทางตรงและทางอ้อม 5. รักษาวัฒนธรรมไทยอย่างดีงาม 6. มีศีลธรรม หวังดีต่อผู้อื่น 7. เข้าใจ เรียนรู้การเป็นประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 8. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย เคารพผู้ใหญ่ 9. มีสติ รู้คิด รู้ทำ 10. รู้จักดำรงตนโดยใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 11. ความเข้มแข็งในจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออำนาจฝ่ายต่ำ 12. คำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม มากกว่าผลประโยชน์ตัวเอง
8 คุณธรรมพื้นฐาน(กระทรวงศึกษาธิการ) • ขยัน • ประหยัด • ซื่อสัตย์ • มีวินัย • สุภาพ • สามัคคี • มีน้ำใจ • กตัญญู
ค่านิยมพื้นฐาน 5 ประการ(คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ) • การพึ่งตนเอง ขยันหมั่นเพียร และมีความรับผิดชอบ • การประหยัดและอดออม • การมีระเบียบวินัย และการเคารพกฎหมาย • การปฏิบัติตามคุณธรรมของศาสนา • ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
สมัชชาคุณธรรมแห่งชาติสมัชชาคุณธรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๕/๒๕๕๔ 1.ซื่อตรง 2.รับผิดชอบ 3.พอเพียง ครั้งที่ ๖/๒๕๕๖ (สนง. ผู้ตรวจการแผ่นดิน และ สมัชชาคุณธรรมแห่งชาติ) • ซื่อตรง • มีวินัย • พอเพียง • เสียสละ • รักษ์สิ่งแวดล้อม
ศึกษาเปรียบเทียบค่านิยมและลักษณะนิสัยประจำชาติศึกษาเปรียบเทียบค่านิยมและลักษณะนิสัยประจำชาติ • ประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี • ประเทศญี่ปุ่น • ประเทศเวียดนาม • ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี • ประเทศสหรัฐอเมริกา • ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน • ฯลฯ
ศึกษาเปรียบเทียบวิสัยทัศน์การพัฒนาประเทศ • สิงคโปร์ • เกาหลีใต้ • จีน • เยอรมนี • บราซิล • สวีเดน • ฯลฯ
Thailand’s Current Situation ประเทศไทย (กับแรงผลัก-แรงต้าน) ในสถานการณ์จริง
TD Forum Phase 2 : ตุลาคม 57-ธันวาคม 58 สถานการณ์และแนวโน้ม คสช. ยึดอำนาจ 22 พค. 2557 ออกรัฐธรรมนูญชั่วคราว22กค.2557 และกุมอำนาจสูงสุดไปจนถึง ธค. 2558 สนช. 220 คน 12 เดือน เริ่มงาน สค. 2557 ครม. 36 คน 12 เดือน เริ่มงาน กย. 2557-ธค. 2558 สปช. 250 คน 11 กรอบประเด็น 12 เดือน เริ่มงาน ตค. 2557 กธม. 36 คน 10 กรอบประเด็น 120 วัน เริ่ม ตค. 2557 ขบวนปฏิรูปภาคประชาชนที่หลากหลาย ขบวนภาคธุรกิจที่กระตือรือร้น กระแสต้าน-แรงหนุน จากข้าราชการและฝ่ายอนุรักษ์นิยม
พระมหากษัตริย์ โครงสร้างองค์กรตามรัฐธรรมนูญ คณะองคมนตรี เลือก นรม. คณะรัฐมนตรี นรม. และ รมต. ไม่เกิน ๓๕ คน ศาล ผู้พิพากษา และตุลาการ คสช. ไม่เกิน ๑๕ คน สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ไม่เกิน ๒๒๐ คน เสนอต่างกฎหมาย,เปิดอภิปรายทั่วไป ตั้งกระทู้ถาม เปิดอภิปรายซักถาม -กำกับดูแลการทำงานของ ครม. -ประชุมร่วมกับ ครม. เพื่อพิจารณา หรือแก้ไขปัญหาใดๆ รวมถึงการปรึกษาหารือเป็นครั้งคราว -เสนอให้ คสช. มีมติให้นายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง เสนอร่างกฎหมาย ข้อเสนอแนะ ในการปฏิรูปด้านต่าง ๆ ในกรณีจำเป็นเพื่อความสงบเรียบร้อยหรือความมั่นคง หัวหน้า คสช. โดยความเห็นของ คสช. มีอำนาจ สั่งการ ระงับยับยั้ง หรือกระทำการใดๆ ได้ และให้ถือว่าการนั้นชอบด้วยกฎหมาย เสนอความเห็น/ข้อเสนอแนะ ในการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญ สภาปฏิรูปแห่งชาติ ไม่เกิน ๒๕๐ คน คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ จำนวน ๓๖ คน จัดทำร่าง รธน. เสนอ สภาปฏิรูปฯ เพื่อพิจารณา
สภาปฏิรูปฯ ลงมติเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบทั้งฉบับ เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ ประธานสภาปฏิรูปฯ นำร่างขึ้นทูลเกล้าฯ ถวาย ทรงเห็นชอบ ไม่ทรงเห็นชอบ หรือพ้น ๙๐ วันโดยมิได้พระราชทานคืน สภาปฏิรูปฯ และคณะกรรมาธิการฯ เป็นอันสิ้นสุดลง แต่งตั้งสภาปฎิรูปฯ และคณะกรรมาธิการฯ ชุดใหม่ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา รวมระยะเวลาทั้งสิ้นประมาณ ๑๐ เดือน นับตั้งแต่วันที่สภาปฏิรูปฯ ประชุมครั้งแรก จนถึงวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับถาวร รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) สิ้นสุดลง
กระบวนการยกร่างรัฐธรรมนูญกระบวนการยกร่างรัฐธรรมนูญ คณะกรรมการสรรหาสมาชิกสภาปฏิรูปฯ จัดทำบัญชีรายชื่อเสนอ คสช. คสช.คัดเลือกให้เหลือไม่เกิน ๒๕๐ คน สภาปฏิรูปแห่งชาติ ไม่เกิน ๒๕๐ คน • กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ แต่งตั้งจากบุคคล ต่อไปนี้ • -ประธานกรรมาธิการฯ ตามที่ คสช. • เสนอ • -ผู้ซึ่งสภาปฏิรูปฯ เสนอ จำนวน ๒๐ คน • - ผู้ซึ่ง สนช. ครม. และ คสช. • เสนอ ฝ่ายละ ๕ คน ๑๕ วัน กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ จำนวน ๓๖ คน
กรรมาธิการฯ จัดทำร่าง รธน. โดยพิจารณาข้อเสนอของสภาปฏิรูปฯ ประกอบ กรรมาธิการฯ เสนอร่าง ที่ยกร่างแล้วเสร็จต่อ สภาปฏิรูปฯ ครม. และ คสช. เพื่อพิจารณาฯ ๑๒๐ วัน สภาปฏิรูปฯ ครม. และ คสช. พิจารณาร่าง รธน. และส่งคำขอแก้ไขเพิ่มเติมกลับไปยังกรรมาธิการ ๔๐ วัน กรรมาธิการฯ พิจารณาคำขอแก้ไขเพิ่มเติมแล้ว เสนอร่างต่อสภาปฏิรูปฯ ๖๐ วัน สภาปฏิรูปฯ ลงมติเห็นชอบหรือ ไม่เห็นชอบทั้งฉบับ
กรอบประเด็นการปฏิรูปตาม รธน. 2557 สภาปฏิรูปแห่งชาติ (ม.27) • การเมือง • การบริหารราชการแผ่นดิน • กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม • การปกครองท้องถิ่น • การศึกษา • เศรษฐกิจ • พลังงาน • สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม • สื่อสารมวลชน • สังคม • อื่นๆ กรรมาธิการร่างรัฐธรรมนูญ (ม.35) • ราชอาณาจักรหนึ่งเดียว • ประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์ • กลไกป้องกันตรวจสอบทุจริต • ป้องกันคนไม่ดีเข้าดำรงตำแหน่ง • ผู้ดำรงตำแหน่งเป็นอิสระ ไม่ถูกครอบงำ • นิติธรรม คุณธรรมจริยธรรม ธรรมาภิบาล • โครงสร้างเศรษฐกิจสังคมที่เป็นธรรม • การใช้จ่ายเงินภาครัฐคุ้มค่า • ป้องกันการทำลายรัฐธรรมนูญ • กลไกผลักดันการปฏิรูปให้สมบูรณ์
ขบวนปฏิรูปภาคประชาชนที่ปรากฏตัวขบวนปฏิรูปภาคประชาชนที่ปรากฏตัว เครือข่ายเดินหน้าปฏิรูป (RNN) เครือข่ายผู้รับใช้การปฏิรูป (SSN) เครือข่ายมหาวิทยาลัยเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย (UNTR) TD Forum สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ สมัชชาคุณธรรมแห่งชาติ ขบวนการปฏิรูป Inspiring Thailand เครือข่ายภาคประชาชนอื่นๆ เช่น กลุ่มทวงคืนพลังงาน เครือข่ายปฏิรูปการศึกษา เครือข่ายปฏิรูปที่ดิน เครือข่ายปฏิรูปสลากเพื่อสังคม
TD Forum Phase 2: เป้าหมาย ผลักดันกฎหมายคานงัด 20 ฉบับ จัดทีมเกาะติดสภา-กัดติดประเด็นปฏิรูป 5 ทีม โชว์เคสประชาชนจัดการตนเอง(ปฏิรูปภาคปฏิบัติ) 77 จังหวัดๆ ละ 100 กรณีศึกษา สร้างระบบสื่อสารเชื่อมโยงพลเมืองปฏิรูป 1-2 ล้านคน สร้างวาทกรรมเขยื้อนสังคม หล่อเลี้ยงกระแสปฏิรูป 15เดือน เปิดเวที TD Forum 15 ครั้ง
Inspiring Thailand แรงบันดาลใจ เพื่อประเทศไทยในมิติใหม่
ประเทศไทย ที่พัฒนาอย่างสมดุล เศรษฐกิจ การเมือง สังคม คน 1.ภาคีพัฒนาประเทศไทย (ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคสังคม) 2.วิสัยทัศน์ใหม่ 3.ผู้นำรุ่นใหม่ – 100 projects เปลี่ยนประเทศไทย (100,000 คน) ประเทศไทย วิกฤติ การเมือง เศรษฐกิจ สังคม 4.ค่านิยมใหม่ – ซื่อสัตย์ มีวินัย คิดต่าง มุ่งส่วนรวม – active citizen (1 ล้านคน) Inspiring Thailand • แรงบันดาลใจ เพื่อประเทศไทยในมิติใหม่
1.สร้างภาคีเพื่อการพัฒนาประเทศไทย1.สร้างภาคีเพื่อการพัฒนาประเทศไทย First sector – ภาครัฐที่โปร่งใส และเป็นมืออาชีพ Second sector – ภาคธุรกิจ เข้ามามีส่วนร่วม ในการพัฒนาประเทศ Third Sector – ภาคสังคม ที่เข้มแข็ง และทันสมัย การเมือง ผลประโยชน์ของกลุ่ม ผลประโยชน์ของประเทศ ภาคีสามภาคส่วนต้องรวมพลังกันเพื่อควบคุมภาคการเมืองที่ไม่โปร่งใส และร่วมมือสร้างคนรุ่นใหม่ ให้เป็นคนที่มีคุณภาพ ในการเปลี่ยนประเทศไทย
2.สร้างวิสัยทัศน์ร่วมการพัฒนาประเทศไทย2.สร้างวิสัยทัศน์ร่วมการพัฒนาประเทศไทย การระดมความคิด ผ่านสื่อออนไลน์ เวทีระดมความคิดระดับประเทศ ค่านิยมใหม่ วิสัยทัศน์ประเทศ การสำรวจความคิด ผ่านโพลล์ที่สำนัก โพลล์ทุกสำนักมาร่วมกันออกแบบ เวทีระดมความคิด 77จังหวัด การระดมความคิดผ่านหน่วยงานต่างๆ หน่วยราชการโรงเรียน ท้องถิ่น องค์กรเอกชน ฯลฯ
3.สร้างผู้นำรุ่นใหม่เพื่อขับเคลื่อนวิสัยทัศน์ประเทศไทย และนำไปสู่การปฏิบัติในทุกระดับ เกิดกระแสผู้นำรุ่นใหม่เพื่อพัฒนาประเทศไทย ผู้นำร่วมพัฒนาโครงการ 100 projects เปลี่ยนประเทศไทย (โครงการที่สร้างผลกระทบสูงต่อสังคม) คัดเลือกผู้นำที่ดีที่สุดจากทุกภาคส่วน 500 คน ทำงานร่วมกับสถาบันพัฒนาผู้นำเพื่อสร้างผู้นำรุ่นใหม่ที่มีมิติของการพัฒนาสังคมจำนวน 1แสนคน (ผู้นำจาก ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ท้องถิ่น ฯลฯ)
4.สร้างค่านิยมใหม่คนไทย4.สร้างค่านิยมใหม่คนไทย • ซื่อสัตย์ ไม่ยอมรับการทุจริตคอรัปชั่น • มีวินัย อดทน • เคารพความคิดเห็นแตกต่าง • คิดถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว • เป็นพลเมืองที่ตื่นตัว (active citizen) เวทีระดมความคิดระดับประเทศ วิสัยทัศน์ประเทศ ค่านิยมใหม่ ขอความร่วมมือให้ ละคร ภาพยนตร์ นำค่านิยมใหม่อย่างน้อยหนึ่งอย่างเข้าไปผสมผสาน กับเนื้อหาที่มีอยู่ สื่อกระแสหลัก สร้าง campaignรณรงค์โดยระดมนักสื่อสารที่เก่งที่สุดในประเทศ มาร่วมกันดำเนินงานสร้างค่านิยมคนไทย และปลุกคนไทยให้ร่วมกันเปลี่ยนแปลงสังคมให้น่าอยู่ยิ่งขึ้น ผ่านปฏิบัติการระดับพื้นที่ Campaign กองทุนสื่อสร้างสรรค์ เพื่อสนับสนุนการสร้าง ละคร ภาพยนตร์ สื่อออนไลน์ ที่ดี และสนับสนุน campaign การรณรงค์เพื่อสร้างค่านิยมใหม่ในสังคมไทย
Thais’ Dreamวิสัยทัศน์:Thailand2050 ฝันยิ่งใหญ่ของคนไทย
“100โครงการ เพื่อเปลี่ยนแปลงประเทศไทย” (Inspiring Thailand)
หลักการของโครงการ 1.เป็นโครงการที่สร้าง Impact ขนาดใหญ่ สามารถจุดประกายปลุกกระแสการ เปลี่ยนแปลงและขับเคลื่อนประเทศไทย 2.เป็นโครงการที่เปลี่ยนจิตใจและพฤติกรรม ของคนที่ร่วมโครงการและคนในสังคม 3.เป็นโครงการที่สร้างผู้นำ
หลักการของโครงการ 4.เป็นโครงการที่สามารถทำซ้ำได้ในหลายพื้นที่และต่อยอดไปสู่ความยั่งยืนได้ 5.เป็นโครงการที่สังคมรู้สึกมีความเป็นเจ้าของ มีส่วนร่วมในทุกระดับและพร้อมจะนำทรัพยากรและสรรพกำลังมาขับเคลื่อนโครงการอย่างจริงจัง
โครงการ 500 ผู้นำมิติใหม่ Module การเรียนรู้ ระบบสังคมไทยและบทเรียน Systems thinking สติ /สติสนทนา Communication การสร้างนวัตกรรม
ปฏิสัมพันธ์ของพลังในสังคม กับการเปลี่ยนผ่านประเทศ