120 likes | 342 Views
จัดทำโดย นางสาว เกษราภรณ์ เพ็ชรวัฒน์ โปรแกมวิชา สัตวบาล เลขที่ 2. ปัจจัยที่มีผลต่อการไข่ของไก่ไข่. พันธุ์ไก่ไข่ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท. 1. ไก่พันธุ์แท้. - ไก่พันธุ์เล็กฮอร์นขาว - ไก่พันธุ์โร๊ดไอแลนแดง - ไก่พันธุ์มัทรอค. 2.ไก่ลูกผสม -ไก่ลูกผสมสีน้ำตาล -ไก่ลูกผสมสีดำ.
E N D
จัดทำโดย นางสาว เกษราภรณ์ เพ็ชรวัฒน์ โปรแกมวิชา สัตวบาล เลขที่ 2
ปัจจัยที่มีผลต่อการไข่ของไก่ไข่ปัจจัยที่มีผลต่อการไข่ของไก่ไข่
พันธุ์ไก่ไข่ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท 1. ไก่พันธุ์แท้ - ไก่พันธุ์เล็กฮอร์นขาว - ไก่พันธุ์โร๊ดไอแลนแดง - ไก่พันธุ์มัทรอค
2.ไก่ลูกผสม -ไก่ลูกผสมสีน้ำตาล -ไก่ลูกผสมสีดำ 3. ไก่ไฮบริดหรือไก่ลูกผสมเลือดสูง
1.โรงเรือนและความหนาแน่น1.โรงเรือนและความหนาแน่น 1.1การเลี้ยงไก่ไข่แบ่งการเลี้ยงออกเป็น 2 แบบ -การเลี้ยงบนพื้น -การเลี้ยงแบบขังกรง ปัจจัยที่มีผลต่อการไข่ของไก่ไข่
ตารางที่ 1 ความต้องการพื้นที่ในการเลี้ยงไก่ไข่ที่เลี้ยงแบบปล่อยพื้น ชนิดของพื้นที่ ความต้องการพื้นที่(ตัว/ตารางเมตร) ไก่เล็กฮอร์นเล็ก ไก่เล็กฮอร์มาตรฐาน ไก่ไข่ขนาดกลาง แบบปล่อยพื้น 8.6 7.2 6.4 กึ่งพื้นกึ่งไม้ระแนง 10.8 9.0 7.2 ไม้ระแนงทั้งหมด 14.4 10.8 9.0 ลวดทั้งหมด 14.4 10.8 9.0 ที่มา:อาวุต,(2538)
ตารางที่ 2 พื้นที่การเลี้ยงไก่แบบขังกรง สายพันธุ์ นิ้ว ซม. ไก่เล็กฮอร์นเล็ก 48 310 ไก่เล็กฮอร์นมาตราฐาน 60 387 ไก่ไข่ขนาดกลาง 70 452 ที่มา:อาวุต,(2538)
ตารางที่ 3 เปรียบเทียบการเลี้ยงไก่แบบบนพื้นและการเลี้ยงกรงตับ รายการ การเลี้ยงไก่บนพื้น การเลี้ยงกรงตับ อัตราการตาย มาก น้อยมาก ขนาดไข่ เล็กน้อย โตมาก การจัดการ ยากมาก ง่ายกว่า ค่าลงทุน ต่ำกว่า สูงกว่า ไข่เสียหาย มากกว่า น้อยกว่า ที่มา:นามแฝง,(2543)
2.การควบคุมน้ำหนักและความสม่ำเสมอ2.การควบคุมน้ำหนักและความสม่ำเสมอ 2.1ความสม่ำเสมอของฝูง -สุ่มน้ำหนักไก่ 10 % ชั่งทุกห้อง จดบันทึกจำนวนไก่ทั้งหมดที่ชั่งและน้ำหนักไก่แต่ละตัวที่ชั่งได้ -นำมาคำนวณหาความสม่ำเสมอของฝูงมีสูตรดังนี้ ความสม่ำเสมอ(%)=จำนวนไก่ที่มีน้ำหนักอยู่ในช่วง + 10% ของน้ำหนักเฉลี่ย x 100 จำนวนไก่ที่ชั่ง (ตัว) -ไก่ในฝูงมีความสม่ำเสมอต่ำกว่ามาตรฐานแสดงว่าไก่ในฝูงมีน้ำหนักแตกต่างกันมากให้ชั่งน้ำหนักไก่ทุกตัวในเล้า -ในระหว่างการชั่งน้ำหนักไก่ให้ทำร่วมกับการคัดไก่ที่ผิดปกติออกจากฝูง
ตารางที่ 4 ระดับความสม่ำเสมอของฝูงไก่ไข่ ระดับ ความสม่ำเสมอ ดีเยี่ยม 85 - ขึ้นไป ดีมาก 78-84 ดี 64-70 พอใช้ 60-63 ใช้ไม่ได้ 56-59 เลว 55และต่ำกว่า
3. แสง 3.1การกระตุ้นการไข่ 3.2ความเข้มของแสงขั้นต้น 3.3ความยาวแสงสำหรับไก่ไข่ 3.4การประมาณความยาวแสงธรรมชาติ -ตำแหน่งที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของฟาร์ม -ช่วงเดือนต่าง ๆ ของปี
4.อาหาร -ปริมาณอาหารที่ไก่ไข่กินขึ้นอยู่กับอัตราการไข่และน้ำหนักตัวของไก่ -การให้อาหารตามระยะของการไข่ การให้อาหารตามระยะของการไข่ คือ การให้อาหารตามต้องการของไก่ในระยะต่าง ๆ