1 / 77

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น ( waves )

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น ( waves ). วิทยาศาสตร์ (ว 40216 ) ฟิสิกส์ ม.6. คลื่น ( waves ). 1. คลื่น ( waves ) 2. สมบัติของคลื่น ( property of waves ) 3. คลื่นเสียง ( sound waves ) 4. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ( electromagnetic ). 2. สมบัติของคลื่น ( property of waves ). ผลการเรียนรู้.

ira
Download Presentation

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น ( waves )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 3เรื่อง คลื่น (waves) วิทยาศาสตร์ (ว 40216 ) ฟิสิกส์ ม.6

  2. คลื่น (waves) • 1. คลื่น (waves) • 2. สมบัติของคลื่น (property of waves) • 3. คลื่นเสียง (sound waves) • 4. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic)

  3. 2. สมบัติของคลื่น (property of waves)

  4. ผลการเรียนรู้ • 1. อธิบายการสะท้อนและการหักเหของคลื่นได้ • 2. อธิบายการแทรกสอดและการเลี้ยวเบนของคลื่นได้

  5. 2. สมบัติของคลื่น (property of waves) • 1. การสะท้อนของคลื่น (reflection of waves) • 1.1 การสะท้อนของคลื่นในเส้นเชือก • 1.2 การสะท้อนของคลื่นบนผิวน้ำ • 2. การหักเหของคลื่น (refraction of waves) • 2.1 มุมวิกฤติ • 2.2 การหักเหของคลื่นในเส้นเชือก • 3. การแทรกสอดของคลื่น (interference) • 4. การเลี้ยวเบนของคลื่น (diffraction of waves)

  6. การสะท้อนของคลื่น (reflection of waves)

  7. 1. การสะท้อนของคลื่น (reflection of waves) • 1.1 การสะท้อนของคลื่นในเส้นเชือก • 1.2 การสะท้อนของคลื่นบนผิวน้ำ

  8. 1. การสะท้อนของคลื่น (Reflection) • เมื่อคลื่นเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่งไปยังรอยต่อของอีกตัวกลางหนึ่ง คลื่นจะเคลื่อนที่ย้อนกลับมาในตัวกลางเดิม เราเรียกปรากฏการณ์นี้ว่า การสะท้อนของคลื่น • สรุปกฎการเคลื่อนที่ของคลื่นได้ดังนี้ • 1. แนวคลื่นตกกระทบ แนวคลื่นสะท้อน และแนวปกติ อยู่บนระนาบอันเดียวกัน • 2. มุมคลื่นตกกระทบ = มุมคลื่นสะท้อน

  9. Law of Reflection http://www.users.zetnet.co.uk/computing/MainPage/SecDepts/Physics/Resources/Glossary/Reflection.html

  10. Reflection of Waves http://tonydude.net/NaturalScience100/chapters/chapter27/chapter27.html

  11. 1.1 การสะท้อนของคลื่นในเส้นเชือก Reflection at a fixed enda phase change occurs Reflection at a free endno phase change occurs http://www.saburchill.com/physics/chapters2/0004.html

  12. 1.1 การสะท้อนของคลื่นในเส้นเชือก http://www.physicsclassroom.com/Class/waves/U10L3a.html

  13. 1.2 การสะท้อนของคลื่นบนผิวน้ำ • การสะท้อนของคลื่นบนผิวน้ำ มีลักษณะคล้ายกับการสะท้อนที่ปลายอิสระของคลื่นในเส้นเชือก • เพราะฉะนั้น คลื่นผิวน้ำจะสะท้อนโดยไม่กลับเฟส http://www.cord.edu/dept/physics/p128/lecture99_33.html

  14. Ripple Tank http://www.gscscientific.com/1871.html

  15. Ripple Tank • อุปกรณ์ชุดนี้ออกแบบมาเพื่อใช้อธิบายลักษณะและสมบัติของคลื่นผิวน้ำ ได้แก่ • ส่วนประกอบของคลื่น • การเคลื่อนที่ของคลื่นจากจุดกำเนิดแบบต่างๆ • การสะท้อนของคลื่น • การหักเหของคลื่น • การแทรกสอดของคลื่น • การเลี้ยวเบนของคลื่น • ตัวถาดเป็นพลาสติก AS ใสเหนียว แข็งแรงทนทาน ไม่มีรอยต่อ ไม่รั่ว เพราะฉีดเป็นแผ่นเดียวกัน • ขอบถาดเป็นพลาสติก ABS ฉีดเฉพาะจึงประกอบได้พอเหมาะแข็งแรงทนทาน • โคมไฟทำจากพลาสติก Nylon Six ทนความร้อนสูง เสาตั้งโคมไฟมีความแข็งแรงยึดโคมไฟไม่ให้สั่นขณะทดลอง • ชุดกำเนิดคลื่นประกอบด้วยมอเตอร์12 V.DC อย่างดีและมีชุดควบคุมความเร็วมอเตอร์ทำให้ปรับความถี่ได้ตามความต้องการ • ขาถาดสามารถปรับระดับได้ทั้ง 4 ขา มีอุปกรณ์ประกอบครบถ้วน สำหรับทุกการทดลอง http://www.intellect.co.th/catalog/showproduct.php?idc=1&ids=1&id=52

  16. การหักเหของคลื่น (refraction of waves)

  17. 2. การหักเหของคลื่น (refraction of waves) • 2.1 มุมวิกฤติ • 2.2 การหักเหของคลื่นในเส้นเชือก

  18. 2. การหักเหของคลื่น (refraction of waves) การหักเหของคลื่น (refraction of waves) เกิดขึ้นที่ผิวรอยต่อของตัวกลาง 2 ชนิด กฎการหักเหมี 2 ข้อ ดังนี้ • 1. รังสีตกกระทบ รังสีหักเห และเส้นปกติอยู่บนระนาบเดียวกัน • 2. เป็นไปตามกฎของสเนลล์ดังนี้

  19. 2. การหักเหของคลื่น (refraction of waves) • การหักเหของคลื่น (refraction) เกิดเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผ่านรอยต่อระหว่างตัวกลางที่มีคุณสมบัติต่างกัน แล้วทำให้อัตราเร็วของคลื่นเปลี่ยนไป • เช่น เมื่อคลื่นผิวน้ำเคลื่อนที่ผ่าน บริเวณน้ำลึกกับบริเวณน้ำตื้น โดยทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นไม่ตั้งฉากกับรอยต่อ คลื่นที่ผ่านเข้าไปบริเวณน้ำตื้น จะมีความยาวคลื่นเปลี่ยนแปลงและทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นก็เปลี่ยนแปลงด้วย ทำให้อัตราเร็วเปลี่ยนแปลงด้วย แต่ความถี่ของคลื่นมีค่าเท่าเดิม • แต่หากทิศของคลื่นตั้งฉากกับรอยต่อ ก็จะไม่เกิดการหักเหของคลื่น • มุมวิกฤติ คือ มุมตกกระทบที่ทำให้มุมหักเห มีค่าเท่ากับ 90 องศา • ตัวอย่างการหักเห เช่น เมื่อเรามองดินสอภายในแก้วที่มีน้ำ จะเห็นเป็นรอยต่อคล้ายดินสอหักต่อกัน เป็นเพราะคลื่นแสงเกิดการหักเห เมื่อเคลื่อนที่จากอากาศ สู่แก้วและน้ำ ตามลำดับ

  20. Refraction of Waves http://tonydude.net/NaturalScience100/chapters/chapter27/chapter27.html

  21. Refraction of Waves http://www.searchanddiscovery.com/documents/geophysical/zimmerman/images/fig02.htm

  22. Refraction of Waves http://physics.mtsu.edu/~phys2020/Lectures/L1-L5/L1/Snell_s_Law/snell_s_law.html

  23. http://theory.uwinnipeg.ca/users/gabor/foundations/electro/slide8.htmlhttp://theory.uwinnipeg.ca/users/gabor/foundations/electro/slide8.html

  24. http://61.19.121.179/elearning/mod/resource/view.php?id=605&MoodleSessionkrmoodle=115f05e13131bd09e77f516bdc00bc27http://61.19.121.179/elearning/mod/resource/view.php?id=605&MoodleSessionkrmoodle=115f05e13131bd09e77f516bdc00bc27

  25. ตัวอย่างที่ 1 (น.165) คลื่นชนิดหนึ่งเคลื่อนที่มาในอากาศด้วยความเร็ว 300 m/s ตกกระทบผิวน้ำ ทำมุม 37 องศา คลื่นนี้มีอัตราเร็วในน้ำ 400 m/s จงหามุมหักเห • วิธีทำ กฎของสเนลล์ V1 / V2 = sin 1 / sin 2

  26. 2. การหักเหของคลื่น (refraction of waves) • การหักเหของคลื่น (refraction) เกิดเมื่อ คลื่นเคลื่อนที่ผ่านรอยต่อระหว่างตัวกลางที่มีคุณสมบัติต่างกัน แล้วทำให้อัตราเร็วของคลื่นเปลี่ยนไป • เช่น เมื่อคลื่นผิวน้ำเคลื่อนที่ผ่าน บริเวณน้ำลึกกับบริเวณน้ำตื้น โดยทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นไม่ตั้งฉากกับรอยต่อ http://tonydude.net/NaturalScience100/chapters/chapter27/chapter27.html

  27. 2. การหักเหของคลื่น (refraction of waves) • คลื่นที่ผ่านเข้าไปบริเวณน้ำตื้น จะมีความยาวคลื่นเปลี่ยนแปลงและทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นก็เปลี่ยนแปลงด้วย ทำให้อัตราเร็วเปลี่ยนแปลงด้วย แต่ความถี่ของคลื่นมีค่าเท่าเดิม http://www.rpi.edu/dept/phys/ScIT/InformationTransfer/reflrefr/rr_content/refraction_40.html

  28. 2. การหักเหของคลื่น (refraction of waves) • แต่หากทิศของคลื่นตั้งฉากกับรอยต่อ ก็จะไม่เกิดการหักเหของคลื่น http://www.rpi.edu/dept/phys/ScIT/InformationTransfer/reflrefr/rr_content/refraction_40.html

  29. Ray OpticsThe Broken Pencil • ตัวอย่างการหักเห เช่น เมื่อเรามองดินสอภายในแก้วที่มีน้ำ • จะเห็นเป็นรอยต่อคล้ายดินสอหักต่อกัน • เป็นเพราะคลื่นแสงเกิดการหักเห • เมื่อเคลื่อนที่จากอากาศ สู่แก้วและน้ำ ตามลำดับ http://www.physicsclassroom.com/Class/refrn/u14l2b.html

  30. refraction of waves http://www.physicsclassroom.com/Class/refrn/u14l2b.html

  31. refraction of waves http://www.physicsclassroom.com/Class/refrn/u14l2b.html

  32. refraction of waves http://www.physicsclassroom.com/Class/refrn/u14l2b.html

  33. 2.1 มุมวิกฤติ (Critical angle) • มุมวิกฤติ คือ มุมตกกระทบที่ทำให้มุมหักเห มีค่าเท่ากับ 90 องศา http://www.rpi.edu/dept/phys/ScIT/InformationTransfer/reflrefr/rr_content/refraction_40.html

  34. Critical angle http://www.rpi.edu/dept/phys/ScIT/InformationTransfer/reflrefr/rr_content/refraction_40.html

  35. การสะท้อนกลับหมด • เมื่อทำให้มุมตกกระทบมีค่ามากกว่ามุมวิกฤติ จะเกิดการสะท้อนกลับหมด http://www.rpi.edu/dept/phys/ScIT/InformationTransfer/reflrefr/rr_content/refraction_40.html

  36. http://www.physicsclassroom.com/Class/refrn/u14l2b.html

  37. http://www.cartage.org.lb/en/themes/Sciences/Physics/Optics/OpticalInstruments/PrismandCritical/prismcriticalangle/prismcriticalangle.htmlhttp://www.cartage.org.lb/en/themes/Sciences/Physics/Optics/OpticalInstruments/PrismandCritical/prismcriticalangle/prismcriticalangle.html

  38. 2.2 การหักเหของคลื่นในเส้นเชือก • การหักเหของคลื่นในเส้นเชือกก็ใช้ กฎของสเนลล์ ได้เช่นกัน โดยคำนวณจากสมการ http://www.physics.purdue.edu/cdf/241lecturesFall99/lc22/lc22_7.gif

  39. Snell's Law http://www.haverford.edu/physics-astro/songs/snell.htm

  40. Snell's Law http://www.jracademy.com/~mbasteaf/CyberPhysics/glossary.htm

  41. ตัวอย่างแบบฝึกหัด • 1. คลื่นชนิดหนึ่งเคลื่อนที่มาในอากาศด้วยอัตราเร็ว 300 m/s ตกกระทบผิวน้ำ ทำมุมตกกระทบ 370 คลื่นนี้มีอัตราเร็วในน้ำ 400 m/s จงหามุมหักเห (530) • 2. คลื่นมีอัตราเร็ว 10 m/s ในตัวกลางตัวที่ 1 และมีอัตราเร็ว 20 m/s ในตัวกลางตัวที่ 2 จงหามุมวิกฤติ (300) • 3. คลื่นในเชือกเส้นเล็ก มีอัตราเร็ว 100 m/s ตกกระทบจุดที่ผูกติดกับเชือกเส้นใหญ่ ถ้าคลื่นหักเหในเชือกเส้นใหญ่มีอัตราเร็ว 80 m/s จงหา • ความถี่ของคลื่นในเชือกเส้นเล็กและในเชือกเส้นใหญ่ (2,500 Hz) • ความยาวคลื่นในเชือกเส้นใหญ่ (0.032 m) • วาดรูปแสดงคลื่นสะท้อนและคลื่นหักเห

  42. การแทรกสอดของคลื่น (Interference of waves)

  43. 3. การแทรกสอดของคลื่น (interference) • Interference เกิดเมื่อคลื่น 2 ขบวนที่เหมือนกันทุกประการ ที่มีแหล่งกำเนิดเหมือนกัน เคลื่อนที่มาพบกันทำให้เกิดการซ้อนทับกัน • หลักการรวมกันของคลื่น มี 2 ข้อ • 1. การกระจัดของคลื่นรวมกันแบบเวกเตอร์ • 2. รูปร่างของคลื่นเปลี่ยนไปขณะรวมกัน แต่หลังรวมกันแล้วคลื่นมีรูปร่างเหมือนก่อนรวมกัน

  44. 3. การแทรกสอดของคลื่น (interference) • Interference เกิดเมื่อคลื่น 2 ขบวนที่เหมือนกันทุกประการ ที่มีแหล่งกำเนิดเหมือนกัน เคลื่อนที่มาพบกันทำให้เกิดการซ้อนทับกัน • หากสันคลื่นกับสันคลื่นหรือท้องคลื่นกับท้องคลื่นเคลื่อนที่มาซ้อนทับกัน แอมพลิจูดของคลื่นทั้งสองจะเสริมกัน เรียกว่า เกิดการแทรกสอดแบบเสริมกัน เรียกตำแหน่งที่มีการกระจัดมากที่สุดว่า ปฏิบัพ (antinode) • ส่วนตำแหน่งที่สันคลื่นพบท้องคลื่น แอมพลิจูดทั้งสองจะหักล้างกัน เรียกว่า การแทรกสอดแบบหักล้าง และเรียกตำแหน่งที่มีการกระจัดน้อยที่สุดนี้ว่า บัพ (node) • ตัวอย่าง ของการแทรกสอดของคลื่น เช่น การติดตั้งลำโพงเสียงที่ใกล้กัน ทำให้เสียงจากสองแหล่งเกิดการแทรกสอดฟัง ผู้ฟังที่อยู่ตำแหน่งบัพจะไม่ได้ยินเสียง ขณะที่ผู้อยู่ตำแหน่งปฏิบัพ ได้ยินเสียงดังเกินไป

  45. Interference http://www.teachingtools.com/Slinky/activ2.html

  46. Interference http://www.glenbrook.k12.il.us/gbssci/phys/Class/sound/u11l5c.html

  47. Interference • When waves overlap each other it is called interference. • This is divided into constructive and destructive interference.

  48. Constructive interference : the waves line up perfectly and add to each others’ strength. http://en.wikibooks.org/wiki/Waves_(Physics_Study_Guide)

  49. Destructive interference : the two waves cancel each other out, resulting in no wave. http://en.wikibooks.org/wiki/Waves_(Physics_Study_Guide)

  50. http://micro.magnet.fsu.edu/primer/lightandcolor/interferenceintro.htmlhttp://micro.magnet.fsu.edu/primer/lightandcolor/interferenceintro.html

More Related