560 likes | 774 Views
อุดมการณ์ทางการเมือง (Political Ideology). อุดมการณ์ (Ideology) คือ ศาสตร์แห่งความคิด. คำว่า “ อุดมการณ์ ” มีนักปราชญ์รัฐศาสตร์ เดอ ท็อคเคอวิลล์ (De Tocqueville) กล่าวว่า “ หากปราศจากอุดมการณ์เสียแล้ว สังคมมิอาจจะตั้งอยู่/ เจริญเติบโตต่อไปได้ เหตุว่า เมื่อมนุษย์ไม่มีความเชื่อมั่น
E N D
อุดมการณ์ทางการเมือง(Political Ideology)
อุดมการณ์ (Ideology)คือ ศาสตร์แห่งความคิด คำว่า “อุดมการณ์” มีนักปราชญ์รัฐศาสตร์ เดอ ท็อคเคอวิลล์ (De Tocqueville) กล่าวว่า “หากปราศจากอุดมการณ์เสียแล้ว สังคมมิอาจจะตั้งอยู่/ เจริญเติบโตต่อไปได้ เหตุว่า เมื่อมนุษย์ไม่มีความเชื่อมั่น ร่วมกันในความคิดอันใดอันหนึ่ง มนุษย์ก็มิอาจดำเนินการ ใดๆ ร่วมกันได้ เมื่อขาดพฤติกรรมดังกล่าว มนุษย์ยังคงมี อยู่ (ในโลก) แต่ปราศจากสิ่งที่รู้กันที่เรียกว่า “สังคม”
ความสำคัญของอุดมการณ์ความสำคัญของอุดมการณ์ • อุดมการณ์เป็นแรงจูงใจเป็นพลังที่ให้เกิดการ กระทำในสังคม • อุดมการณ์เป็นแรงดลใจให้มนุษย์เกิดการเชื่อฟัง • อุดมการณ์เป็นลักษณะของความเชื่อมั่นที่มีความ แน่นอนเป็นอันหนึ่งอันเดียว “อุดมการณ์เป็นทั้งความยึดถือ และพฤติกรรมที่มี ความแน่นอน ซึ่งจะมีความเกี่ยวพันกับหน่วยกำหนด นโยบายทางการเมือง โครงสร้างของอำนาจสังคม ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มอำนาจ”
ความสำคัญของอุดมการณ์ความสำคัญของอุดมการณ์ ความหมายเดิม : “ศาสตร์แห่งความคิด” Science of Ideas : อุดมการณ์เป็นรูปแบบแห่งความคิดบุคคลมี ความเชื่ออย่างแน่นแฟ้น :อุดมการณ์เป็นกลุ่มแห่งความคิด ซึ่งกำหนด ท่าที/ทัศนคติ (Attitudes) :อุดมการณ์เป็นลักษณะแห่งการนำไปปฏิบัติ
ความสำคัญของอุดมการณ์ความสำคัญของอุดมการณ์ UNESCO อธิบายความหมาย “อุดมการณ์” ว่า รูปแบบของความเชื่อและแนวความคิด (Concept) ทั้งส่วนเกี่ยวกับข้อเท็จจริง รวมทั้งการประเมินค่าว่า ดี/ไม่ดี ควร/ไม่ควร ซึ่งจะช่วยอธิบายปรากฏการณ์ทางสังคม ลิขิต ธีรเวคิน ให้ความหมาย “อุดมการณ์” ว่า ลัทธิทางการเมืองที่อธิบายถึงความเป็นมาของระบบ สังคมมนุษย์ในอดีต สภาพความเป็นอยู่ในปัจจุบัน และ แนวโน้มอนาคต วางแนวทางประพฤติปฏิบัติสำหรับสมาชิก ในปัจจุบัน
อุดมการณ์การเมือง 1. ความคิด/ความเชื่อที่มีแบบแผนเกี่ยวกับหลักการและ คุณค่าทางการเมืองที่เกิดขึ้นในสังคม 2. วิถีชีวิตทางการเมืองโดยมุ่งหมายกำหนดกฎเกณฑ์ ต่างๆ ทางการเมืองและการปกครองอธิบายและเสนอแนะ แนวทางแก้ไข 3.การเชื่อฟังและปฏิบัติตาม เป็นการยอมรับว่าสิ่งต่างๆ ที่ อุดมการณ์กำหนดขึ้นมาเป็นสิ่งดี/ถูกต้อง/นำไปประยุกต์ใช้ 4. แหล่งที่ทำให้เกิดการเห็นพ้องกันภายในรัฐ มนุษย์ใน ชุมชนยึดถือสิ่งต่างๆ ที่ปรากฏในอุดมการณ์ว่าถูกต้องจะ ผลักดันให้เห็นพ้องในหลักการ ความมุ่งหมาย กระบวนการ ผลปฏิบัติ 5. กลไกการควบคุม ภายหลังเห็นพ้องตรงกันในหลักการ จุดมุ่งหมายหรือกระบวนการ ฯลฯ แล้วมนุษย์ย่อมต้องการให้ บรรลุผลตามอุดมการณ์
ประโยชน์ของอุดมการณ์ 1) การนำอุดมการณ์มาใช้เพื่อปกครองและ รวมกลุ่มคนเข้าด้วยกัน 2) การใช้อุดมการณ์เพื่อประโยชน์ชักจูงคน ให้เสียสละเพื่อเป้าหมายร่วม 3) การใช้อุดมการณ์เพื่อการขยายอำนาจ ของรัฐบาล
ลัทธิทางการเมือง - ฟาสซิสต์ - นาซี - มาร์กซิสม์/ คอมมิวนิสต์ - สังคมนิยม - เสรีนิยม - อนุรักษ์นิยม - ชาตินิยม - อนาธิปไตย - ประชาธิปไตย
ประเภทลัทธิทางการเมืองประเภทลัทธิทางการเมือง 1. ลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจ ทำให้เสรีภาพบุคคลสำคัญน้อยลง • ลัทธิฟาสซิสต์ (Fascism) • ลัทธินาซี (Nazism) • ลัทธิมาร์กซิสต์ (Marxism) คอมมิวนิสต์ (Communism)
ประเภทลัทธิทางการเมืองประเภทลัทธิทางการเมือง 2. ลัทธิทางการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ : อำนาจรัฐมีไม่มาก มีขอบเขตจำกัด แต่เสรีภาพบุคคลสำคัญมาก • ลัทธิเสรีนิยม (Liberalism) • ลัทธิประชาธิปไตย (Democracy) • ลัทธิสังคมนิยมประชาธิปไตย (Democratic Socialism) • ลัทธิอนุรักษ์นิยม (Conservatism)
ลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจ ลัทธิฟาสซิสต์ (Fascism) ลัทธิฟาสซิสต์เป็นศักดินานิยมแบบใหม่ที่มีรากฐานลัทธิ ศักดินาเดิม โดยระบบเผด็จการเกิดขึ้นศตวรรษที่ 20 โดยมี ลักษณะ - ชาตินิยม -ใช้อำนาจแบบเบ็ดเสร็จ - ทหารนิยม “Fasces” ภาษาละติน = มัดของแขนงไม้ สัญลักษณ์ : ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน • : อำนาจ • : ความเชื่อฟังในสมัยโรมันโบราณ “Fascio” ภาษาอิตาเลียน มัด = ความสัมพันธ์ใกล้ชิด (กลุ่ม/ขบวนการ) ความหมายทหารโรมัน
ลัทธิฟาสซิสต์ (Fascism) ลัทธิฟาสซิสต์บูชาชาติ รัฐ จิตสมบูรณ์ (พระเจ้า) ลด ความสำคัญเอกชน/ไม่นับถือมนุษย์ ยึดถือนามธรรมร่วม (พระเจ้า จิต ชาติ เชื้อชาติ รัฐ และผู้นำ) มากกว่าสภาพ ความเป็นอยู่แท้จริงมนุษย์ ความเป็นมา : ความคิดจิตนิยม (Idealism Geong Wilhelm Friedrich Hegel, 1770-1831) แพร่หลาย : ภายหลัง WW.I ระบบประชาธิปไตยในประเทศอิตาลี และเยอรมันล้มเหลว ระบบฟาสซิสต์มีบทบาทสำคัญแทนที่ โดยได้รับการสนับสนุน - ชนชั้นกลาง -ชนชั้นสูง (นักอุตสาหกรรม)
ลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจ : ระหว่างนั้น Giovanni Gentile 1875-1944 และ Alfredo Rocco 1875-1935 พัฒนาลัทธิฟาสซิสต์ ลัทธิฟาสซิสต์ = ระบบเผด็จการเบ็ดเสร็จ พื้นฐานความคิด - ประชาชนไม่มีความสามารถ ขาดความรู้และมีอารมณ์ แปรปรวน ปกครองตนเองไม่ได้ - ประชาชนต้องถูกปกครองโดยกลุ่มชนชั้นนำ (elite) ที่มี คุณลักษณะสูงกว่ามวลชนทั่วไป มีความสามารถ สติปัญญา กำลังใจและจริยธรรม
ลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจ - ประเทศที่ประชาชนไม่มีประสบการณ์แบบประชาธิปไตย ปกครองระบบเผด็จการอำนาจนิยม - ประเทศที่ประชาชนมีประสบการณ์แบบประชาธิปไตย บ้าง ปกครองระบบเผด็จการเบ็ดเสร็จ Benito Mussolini 1883-1945 ได้ตั้งพรรคฟาสซิสต์ 1922 นำแนวคิด Hegel เป็นแกนปรัชญาพรรค พัฒนาเป็น ลัทธิฟาสซิสต์ โดยประยุกต์ แก้สถานการณ์เศรษฐกิจ บังคับ ให้เกิดสามัคคีและสันติในชาติ ยุตินัดหยุดงานและการต่อสู้ระหว่างแรงงานกับนายจ้าง ภายหลัง W.W.I ลัทธิเสื่อมลงเพราะอิตาลีและเยอรมัน แพ้ แต่ลัทธิฟาสซิสต์ยังคงอิทธิพลต่อประเทศด้อย/กำลัง พัฒนา
ลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจ สาระสำคัญของลัทธิฟาสซิสต์ 1. ต้องการให้บุคคลเชื่อโดยไม่คำนึงถึงเหตุผล สั่งสอน โน้มนำให้เชื่องมงาย • ยึดถือ - ชาติและผู้นำ • - จงรักภักดีและผูกพันต่อระบบการปกครอง • ทำให้ - ประชาชนเป็นกลไกการปกครอง - สิทธิบางประการถูกจำกัด - รักษาความมั่นคงและปลอดภัยชาติ - ประชาชนต้องเชื่อฟังและปฏิบัติตาม อย่างเคร่งครัด
ลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจ 2. มนุษย์มีความไม่เท่าเทียมกัน ตามสภาพความเป็น จริงมนุษย์ไม่เท่าเทียมกัน - ร่างกายและพฤติกรรม ความเชื่อแบบประชาธิปไตยถึงความเท่าเทียมกันผิด ชายสูงกว่าหญิง ทหารสูงกว่าพลเรือน ชาติเหนือเอกชน มาตรฐานที่ถูกมาใช้ตัดสิน ฐานะเหนือกว่า = อำนาจ 3. พฤติกรรมนิยมความรุนแรงและโฆษณาชวนเชื่อ : การแบ่งในสังคมมี 2 ประเภท - เพื่อน (Friend) - ศัตรู (Enemy) บุคคลใดไม่ใช่เพื่อน = ศัตรูทั้งหมด ศัตรูต้องถูกทำลายหมดทั้งในและนอกประเทศ ทำให้ เกิดสถาบันของการใช้กำลังรุนแรง
ลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจ 4. รัฐบาลโดยชนชั้นนำ : ผู้นำประเทศ/รัฐบาลเป็นชนชั้น นำกลุ่มน้อยที่เลือกสรรแล้ว - ผู้ที่มีความสามารถ ฝึกฝนเป็นโดยเฉพาะ - ชนกลุ่มน้อยฐานะสูงในสังคม - ทราบความต้องการและสนองความต้องการชุมชนได้ สร้างฐานะตนเอง ชนชั้นผู้นำต้องผูกขาดอำนาจ ผู้ที่มีความสามารถ : การ กระทำถูกต้องเสมอ 5. การปกครองแบบเบ็ดเสร็จ : อำนาจเด็ดขาดเป็นอำนาจ สูงสุดครอบคลุมชีวิตประชาชนในชาติ กิจการ/ระบบทุก อย่างอยู่ภายใต้รัฐควบคุม - สิทธิสตรีต้องถูกกำจัด - อำนาจ + ความรุนแรงเป็นเครื่องมือควบคุมในการ ปกครองประเทศ
ลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจ 6. ความนิยมเชื้อชาติ : ชนชั้นนำการปกครองตาม อุดมการณ์ ผู้ที่มีฐานะเหนือชนชั้นอื่น - ชนชั้นนำมีอำนาจบังคับให้ผู้อื่นยอมรับและนำเอา เจตนารมณ์ตนไปปฏิบัติ - ชนชั้นนำเป็นบุคคลที่เชื้อสายบริสุทธิ์ ความสามารถ พิเศษ - ประเทศที่มีชนชั้นนำเป็นประเทศมหาอำนาจฐานะ เหนือกว่าประเทศอื่น - ผู้นำจะต้องเพิ่มฐานะ อำนาจและชื่อเสียงเผ่าพันธุ์และ ขยายเผ่าพันธุ์ทั่วโลก
ลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจ 7. ความไม่เห็นด้วยกับกฎหมายและพฤติกรรมระหว่าง ประเทศ : - รากฐานความไม่เท่าเทียมกันระหว่างประเทศ ความ รุนแรงและเชื้อชาตินิยม - จักรวรรดินิยมและสงครามทั้งหมดเป็นหลักการและ เครื่องมือรัฐ เน้น สงครามและอุดมคติ
ลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจ ลัทธินาซี (Nazism) Nazism เป็นชื่อย่อในภาษาเยอรมันของพรรคสังคม ชาตินิยมคนงานเยอรมัน (National Socialist German Worker Party) ตั้งขึ้น 1919 ถูก Adolf Hitler 1889-1945 ช่วงชิง เป็นหัวหน้าพรรค 1921 : Nazism เป็นลัทธิฟาสซิสต์รุนแรง ความเป็นมา ระบอบเผด็จการที่ตั้งขึ้นเพื่อสนธิสัญญาแวร์ซายน์ แนวคิดเด่น Nazism: เชื้อชาติ สังคมกว้าหน้าเกิดจากการต่อสู้เลือกผู้เหมาะสมให้มี ชีวิตอยู่ อารยัน (Aryan) เหมาะที่สุด
ลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจ สาระสำคัญของลัทธินาซี 1. การกำจัดแนวคิดปัจเจกชนนิยมสวัสดิภาพของชาติ สำคัญกว่าประชาชน 2. การกำจัดแนวคิดทางประชาธิปไตย ผู้นำรัฐเป็นคน เข้มแข็ง มีระเบียบวินัย 3. การกำจัดแนวคิดความเสมอภาคมนุษย์โดยธรรมชาติ ธรรมชาติสร้างมนุษย์แตกต่างกัน 4. การกำจัดเหตุผลมนุษย์ อุดมคติ จินตนาการสำคัญ มากกว่า 5. หลักความภักดีต่อชาติบุคคลเป็นประโยชน์ต่อรัฐและ สังคมต้องเข้าใจเจตนารมณ์ของชาติ
ลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจ สาระสำคัญของลัทธินาซี 6. หลักการเหยียดผิว เผ่าพันธุ์เยอรมันเป็นชาติเจริญ 7. หลักการบุคคลความสามารถบุคคลเกิดโดยกำเนิด 8. อำนาจสำคัญสุดอำนาจเป็นแนวทาง (Means) สู่ ปลายทาง (Ends) 9. ความสำคัญเชื้อชาติสายโลหิตและเชื้อชาติสำคัญ สร้างวัฒนธรรม รักษาวัฒนธรรมและทำลายวัฒนธรรม 10. หลักจักรวรรดินิยมยกย่องการขยายดินแดน จำเป็น แก่รัฐ “สงคราม”
ลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจ ลัทธิมาร์กซิสม์ (Marxism) ลัทธิสังคม Socialism /คอมมิวนิสต์Communist : บุคคลสำคัญ :Karl Marx (1818-1883) เป็นลัทธิการ เมือง เศรษฐกิจ สังคม เชื่อว่ามนุษย์จะมีความสุขในสังคม อย่างเต็มที่ด้วยการล้มเลิก • กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินของบุคคล • ชนชั้น • ฐานะทางสังคม • สถาบันทางสังคม • ความเชื่อทางศาสนา • รัฐและการปกครอง
ลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจ มนุษย์จะได้รับบริการและวัตถุจำเป็นต่างๆ ในการยังชีพ โดยเท่าเทียมกัน คำว่า“ สังคมนิยม” (Socialism) ถูกใช้ครั้งแรกเป็น ภาษา ฝรั่งเศสวารสาร Le Globe โดย Pierre Lerou บรรณาธิการก.พ. ปี 1832 หมายถึงลัทธิของแซงต์ซีมอง (Claude-Henri de Rouvroy de Saint Simon-1760-1825) แต่ประมาณปี 1827 มีการใช้คำว่า “ นักสังคมนิยม” (Socialist) ในวารสารสหกรณ์ (Co-operative Magazine) ของ Robert Owen (1771-1858) หมายถึง ผู้ยึดถือลัทธิ สหกรณ์ของ Owen
ลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจ ความหมาย : “ สังคมนิยม” (Socialism) 1. คำ “ Sociare” ภาษาละตินแปลว่า รวม (Combine)/ ร่วมกัน (Share) สังคมนิยม หมายถึง การจัดกิจกรรมของ มนุษย์ที่มีการรวม/ร่วมกันอยู่เสมอ 2. คำ “ Sociare” ภาษายุคโรมันและยุคกลางแปลว่า ความเป็นเพื่อน (Companionship) /สหาย (Fellowship)
ลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจ กำเนิดคำว่า“สังคม” (Social /Society) ความหมาย แตกต่างกันระหว่าง “รัฐ” (State) การรวมโดยมีการใช้อำนาจบังคับมากกว่า สมัครใจ “สังคม” (Social /Society) การทำสัญญากันด้วยความ สมัครใจของคนที่เป็นเสรีชน
ลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจ พัฒนาการลัทธิสังคมนิยม/คอมมิวนิสต์ 1. สังคมนิยมยูโทเปีย(Utopian Socialism) ตั้งแต่ W นโปเลียน-การปฎิวัติปี 1848 2. สังคมนิยมแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Socialism) หรือลัทธิมาร์ซิสม์ (Marxism) แนวทางเปลี่ยนแปลงสังคม ผ่านรัฐสภาแบบวิวัฒนาการ
ลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจ พัฒนาการลัทธิสังคมนิยม/คอมมิวนิสต์ 3. สังคมลัทธิมาร์กซ์สมัยใหม่ (Modern Marxism) การพัฒนาลัทธิมาร์กซ์นอกประเทศคอมมิวนิสต์/สังคมนิยม ยุโรปตะวันตกและอเมริกาเหนือ 4. ประชาธิปไตยแนวสังคมนิยม (Social Democracy) การผสมผสานหลักการหลายอุดมการณ์ สังคมนิยม เสรีนิยม หรืออนุรักษ์ ภายหลัง WW II
แนวคิดพื้นฐาน Marxists School นักคิดกลุ่มทฤษฎีนี้มองการ พัฒนาของทุนนิยมโลก แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ 1. Classical Marxistsอธิบายว่า นักเศรษฐศาสตร์ ทุนนิยมกล่าวว่า “เศรษฐกิจแบบทุนนิยม” เป็นระบบของการ แข่งขันอย่างเสรีทั้งรูปแบบการลงทุน การผลิต ค่าจ้างแรงงาน และผู้ประกอบการจะนำผลกำไรขยายงาน การขยายตัวระบบทุนนิยมทำให้เกิดความต้องการ ในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ มีการพัฒนา หรือหาวิธีการ ผลิตและแหล่งตลาดใหม่ๆ
ข้อเท็จจริง : - ผู้ประกอบการที่มีทุนมากที่สุดจะเป็นผู้อยู่รอด และทำกำไรสูงสุด เพราะการแข่งขันต้องมีผู้แพ้และผู้ชนะ - ผู้ประกอบการหรือคู่แข่งที่มีขนาดเล็กหรือทุนน้อยจะถูก กำจัดออกไปจากระบบเศรษฐกิจ - การดำเนินการจะคำนึงถึงต้นทุนและค่าจ้างแรงงานที่ให้ ต่ำที่สุด สถานการณ์จะนำไปสู่ความขัดแย้งระหว่างชนชั้น และ ผลักดันให้สังคมปรับเปลี่ยนไปสู่สังคมแบบสังคมนิยม
แนวคิดเชิง Classical Marxistsฐานความคิดแตกต่างกัน 2 นัย คือ 1.1) แนวคิดของ Karl Marxมองว่า ความคิด เชิงอุดมคติแบบทุนนิยม ไม่ต้องการที่จะแสวงหา ดินแดนหรืออาณาจักรอันเป็นบริวาร แม้ว่ารัฐหรือ ดินแดนเหล่านี้จะเป็นพื้นที่ที่ไม่สามารถทำกำไรให้ ทั้งนี้ เพราะความสัมพันธ์ที่มีกับทุนนิยมภายนอก หรือทุนนิยมสากลจะเป็นกลไกหรือเป็นสื่อกลางที่นำไปสู่ระบบ เศรษฐกิจเพื่อการค้า (Trade Economy) แต่ละรัฐหรือสังคม ไม่จำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงรูปแบบสังคมตนเอง จึงจะเข้าสู่ ตลาดโลก
1.2) แนวคิดของ Nikolai Bukharin และ Vladimir Leninมองว่าระบบทุนนิยมเป็นผลพวง ที่เกิดจากพัฒนาการของ “ระบบจักรวรรดินิยม” (Imperialism) เมื่อพิจารณาสภาพต่างๆ ระดับนานาชาติ (Internationalization) พบว่า การต่อสู้หรือการ แข่งขันของนายทุนยังคงดำเนินอยู่ต่อไป และจะ พัฒนาไปสู่ระบบทุนนิยมข้ามชาติตามมา
ฐานแนวคิดเชื่อว่า“ประเทศที่พัฒนาแล้วจะเข้าครอบงำฐานแนวคิดเชื่อว่า“ประเทศที่พัฒนาแล้วจะเข้าครอบงำ ประเทศที่ด้อยพัฒนา” “การเข้าครอบงำ” จะครอบคลุมรวมถึงดินแดน ระบบ การเมือง การทหาร รูปแบบทางเศรษฐกิจและอื่นเพื่อให้เป็น สังคมประเทศที่จะต้องรับใช้ระบบ ตลอดจนเป็นจักรวรรดิร่วม สงคราม นอกจากนี้ กลุ่มนักคิดยังคาดการณ์ว่า “การแข่งขันกัน ระหว่างจักรวรรดินิยมด้วยกันเอง”จะนำไปสู่ภาวะสงคราม อย่างหลีกหนีไม่พ้น
“สินค้าส่งออกเป็นเงื่อนไขสำคัญของการสร้างทุน”“สินค้าส่งออกเป็นเงื่อนไขสำคัญของการสร้างทุน” สินค้าส่งออก จะเป็นเงื่อนไขสำคัญในการเร่งรัดการ พัฒนาประเทศด้อยพัฒนา และกระบวนการระบบเศรษฐกิจ ของประเทศที่พัฒนา - กรรมกรหรือผู้ใช้แรงงานในภาคการผลิตของระบบ จักรวรรดินิยมศูนย์กลาง ได้รับผลประโยชน์จากความสำเร็จ ของการพัฒนาประเทศที่มีความเสี่ยงน้อย/ ได้รับผลกระทบ ทางลบที่มีขอบเขตจำกัด - กรรมกรหรือผู้ใช้แรงงานในภาคการผลิตของระบบ จักรวรรดินิยมบริวาร จะถูกเอารัดเอาเปรียบและมีความเสี่ยง บนความเติบโตทางเศรษฐกิจที่มีช่องว่างอย่างมาก
2.Political Economy Schoolมองพัฒนาการ ของทุนนิยมว่า “เป็นพัฒนาการของระบบ และกระบวนการเอา รัดเอาเปรียบโดยการขูดรีดผลประโยชน์จากสังคมหนึ่งไปสู่ อีกสังคมหนึ่ง กล่าวคือ : ความเจริญเติบโตของประเทศหนึ่งๆ หรือประเทศที่ พัฒนาเกิดจากการเข้าไปแสวงหาผลประโยชน์ที่เอาเปรียบ ประเทศด้อยพัฒนา โดยผ่านกระบวนการพัฒนา ทำให้สภาพ ของการพัฒนาเป็น“การพัฒนาภาวะความด้อยพัฒนา “ (Development of underdevelopment) 35
กลุ่มนักคิดPolitical Economy Schoolประกอบด้วย • นักคิดและนักวิชาการหลายคนที่มีชื่อเสียง เช่น • - Baran - Emmanual • - Amin - Frank • - Wallerstein - อื่นๆ • Paul Baranมีแนวคิดว่า โลกของระบบเศรษฐกิจมี 2 • ส่วน คือ • ประเทศทุนนิยมที่ก้าวหน้า • ประเทศด้อยพัฒนา 36
ลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจ พัฒนาการสังคม • สังคมเดิมบกพร่อง : ระบบทาส นายทุน ศักดินา เป็นยุคการกดขี่ โดยผู้ที่มีฐานะสูงกว่าปฏิบัติต่อผู้ที่มีฐานะต่ำ กว่า ไม่เห็นข้อบกพร่องตนเอง ชั่วร้าย ต้องต่อสู้และปฎิวัติ • สังคมนิยม :การปกครองที่ชนชั้นกรรมมาชีพมี อำนาจอย่างสมบูรณ์ เผด็จการโดยชนชั้นกรรมาชีพ Marx ถือว่า การไม่มีการกดขี่ การเอารัดเอาเปรียบ รัฐบาลเป็นของชนชั้นใช้แรงงาน สังคมไม่มีชนชั้น พร้อมจะ เป็นสังคมคอมมิวนิสต์ในอนาคต
ลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจ • สังคมคอมมิวนิสต์ : สังคมที่ปราศจากชนชั้นต่างๆ บุคคลสมบูรณ์เต็มทีทั้งความสามารถ ความสำนึกรับผิดชอบ และความสัมพันธ์ต่อกัน ไม่จำเป็นต้องมีรัฐ/อำนาจรัฐ ไม่ จำเป็นต้องมีกฎหมาย มนุษย์ไม่มีการเบียดเบียน กดขี่ข่มเหงกันและกัน
ลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจ ระบบสังคมนิยม Engels : ยืนยันการแบ่งสังคมนิยมเป็น 2 ระยะ 1. ยุคก่อนหน้าผลงานของ Marx & Engels คือก่อน 1848 ตั้งแต่สงครามนโปเลียน-การปฎิวัติฝรั่งเศสปี 1848 สังคมนิยมยูโทเปีย (Utopian Socialism) 2. ยุคหลังผลงานของ Marx & Engels คือ ตั้งแต่การ ประกาศ “The Communist Manifesto = ถ้อยแถลงแห่ง คอมมิวนิสต์” หรือ สังคมนิยมแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Socialism)
ลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจ ระบบสังคมนิยม หลักการองค์ประกอบพื้นฐานสังคมนิยม 7 ประการ 1. ชุมชน (Community) สังคมนิยมให้ความสำคัญกับ ชุมชน หรือส่วนรวมมากกว่าปัจเจกบุคคล การกระทำมนุษย์ที่มีความสำคัญและมีความหมาย เมื่อเป็น “การกระทำแบบรวมหมู่” (Collective Action) พลังสังคมสามารถทำให้บุคคลเปลี่ยน ไม่เหมือนเสรีนิยม แยกจากกัน
ลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจ ระบบสังคมนิยม 2. ภราดรภาพ (Fraternity) ความเป็นพี่น้องกันของ มนุษย์ พื้นฐานความเป็นมนุษย์ร่วมกัน : - ความเป็นสหาย (Comradeship) มากกว่าต่อสู้ - ความช่วยเหลือกัน (Cooperation) มากกว่า แข่งขัน (Competition) - การมุ่งส่วนรวม (Collectivism) มากกว่าส่วนตัว (Individualism) การร่วมมือสร้างความสุขแก่ส่วนรวม
ลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจ ระบบสังคมนิยม 3. ความเสมอภาคทางสังคม (Social Equality) สำคัญ มากกว่าหลักการอื่น : 1. ความเสมอภาคทางการเมือง 2. ความเสมอภาคต่อการปฏิบัติของกฎหมาย 3. ความเสมอภาคในโอกาสสังคม 4. ความเสมอภาคทางเศรษฐกิจ 5. ความเสมอภาคทางสังคม เน้น ความเสมอภาคทางสังคมและเศรษฐกิจ (Social and Economic Equality) เป็นความเสมอภาคทางผลลัพท์ (Equality of Outcome)
ลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจ ระบบสังคมนิยม ความเสมอภาคทางสังคม (Social Equality) 1. ความเสมอภาคทางการเมือง บุคคลทุกคนมีสิทธิ ที่จะเข้าร่วมในกิจกรรมการเมืองเท่าๆ กัน 2. ความเสมอภาคต่อการปฏิบัติของกฎหมาย ทุกคน ต้องได้รับการปฏิบัติด้วยกฎหมายอย่างเสมอภาคกัน โดย ได้รับการคุ้มครองจากกฎหมายโดยเท่าเทียมกัน
ลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจ 3. ความเสมอภาคในโอกาส สังคมต้องเปิดโอกาส ให้ทุกคนทัดเทียมกันทั้งการใช้ความสามารถ แสวงหาความ เจริญก้าวหน้า เลื่อนสถานะทางเศรษฐกิจและสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งโอกาสการรับบริการตามสิทธิตนเอง 4. ความเสมอภาคทางเศรษฐกิจ สภาพของทุกคนมี ความใกล้เคียงกันในฐานะทางเศรษฐกิจที่กระจายรายได้ (Income Distribution) และผลประโยชน์สาธารณะอย่าง เป็นธรรมเพื่อมิให้ช่องว่างระหว่างชนชั้น 5. ความเสมอภาคทางสังคม คนทุกคนจะต้องได้รับ การเคารพว่า ความเป็นคนอย่างมีศักดิ์ศรีเท่าเทียมกันใน ฐานะเกิดมนุษย์ร่วมโลกเดียวกันสิทธิ/เสรีภาพ
ลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจ ระบบสังคมนิยม 4. ความจำเป็น (Needs) สังคมเรียกร้องจากบุคคล ตามความสามารถ สังคมจะตอบแทนแต่ละบุคคลตามความ จำเป็นของมนุษย์ : อุดมคติบุคคลทำงานให้แก่ส่วนรวมอย่างเต็มที่ตาม ความสามารถ สังคมจะตอบแทนให้แก่แต่ละบุคคลตาม ต้องการ ความต้องการของบุคคล = ความจำเป็น
ลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจ ระบบสังคมนิยม 5.ชนชั้นทางสังคม (Social Class) นักสังคมนิยมให้ ความสำคัญกับการวิเคราะห์สังคมด้วยชนชั้น การเปลี่ยนแปลงสังคมต้องเริ่มวิเคราะห์สังคม “สังคมมนุษย์เต็มไปด้วยความไม่เท่าเทียมกัน” : - การแบ่งปันรายได้ - ความมั่งคั่ง - อื่นๆ จึงแบ่งมนุษย์เป็น ผู้กดขี่ กับ ผู้ถูกกดขี่
ลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจ ระบบสังคมนิยม 6.กรรมสิทธิ์ส่วนรวม (Common Ownership) จุดที่ ทำให้มนุษย์แข่งกันและส่งผลให้เกิดความไม่เท่าเทียมกัน ในฐานะเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง มากจาก : สถาบันทรัพย์สินส่วนบุคคล (Institution of Private Property) ทรัพย์สินส่วนบุคคล=ทุน (Capital) - ทรัพย์สินส่วนบุคคลเป็นความไม่ยุติธรรม เพราะ เป็นผลงานของคนทั้งชาติ - ทรัพย์สินเกิดความแสวงหาไม่สิ้นสุด นิยมวัตถุ - ทรัพย์สินเกิดความแข่งขัน แตกแยกและขัดแย้งกัน
ลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจ ระบบสังคมนิยม 7. ความก้าวหน้า (Progress) หมายถึง การก้าวไปข้าง หน้า (To Step forward) การเปลี่ยนแปลทางดี/ทางบวก (Improvement) สังคมต้องเปลี่ยนแปลงให้ก้าวหน้า
ลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจ ระบบคอมมิวนิสต์ : นับตั้งแต่ปี 1840 เป็นต้น มี 4 ประเด็นหลัก • ความวุ่นวายและยุ่งยากทางการเมือง : เกิดขบวน การปฏิวัติในฝรั่งเศส • ความบกพร่องของระบบทุนนิยมอุตสาหกรรม : เกิดการว่างงาน สภาพการทำงาน เดินขบวน และหยุดงาน
ลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจลัทธิทางการเมืองเน้นอำนาจรัฐ/นิยมอำนาจ ระบบคอมมิวนิสต์ • แนวคิดสังคมนิยมที่มีอยู่เดิม : สังคมนิยมยูโทเปีย (Utopian Socialism) ความเสียสละ หรือสังคมนิยมสมบูรณ์ แบบ = คำสอนศาสนาคริสต์ ให้รักกัน ช่วยเหลือกันและกัน • ความรู้สึกรุนแรงของนักคิดที่ต้องแก้สังคม : ปัญหา สังคม การกดขี่เอารัดเอาเปรียบ