1 / 25

Mind map “Health Communication”

Mind map “Health Communication”. What for. How to. การประชาสัมพันธ์. Campaign . ถ่ายทอดมรดก. Agenda Setting. สร้างสมานฉันท์. ให้ความรู้สุขภาพ. สร้างความเข้าใจร่วมกัน. Social Marketing. เสนอนวัตกรรม. การใช้สื่อพื้นบ้าน. สร้างภาพลักษณ์. Media Advocacy. Persuasion. HH. Com.

jarah
Download Presentation

Mind map “Health Communication”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Mind map “Health Communication” What for How to การประชาสัมพันธ์ Campaign ถ่ายทอดมรดก Agenda Setting สร้างสมานฉันท์ ให้ความรู้สุขภาพ สร้างความเข้าใจร่วมกัน Social Marketing เสนอนวัตกรรม การใช้สื่อพื้นบ้าน สร้างภาพลักษณ์ Media Advocacy Persuasion HH Com. เจตนาของการสื่อสาร ปรัชญาการสื่อสาร

  2. 7 S3 S1 S2 1 3 2 5 4 6 S S One – way com two – way com ธาตุทั้ง 4 มาชุมนุมกัน 2 แบบจำลอง What is S M C R S M C R R1 Communication เกี่ยวกับ สสส.? เป็นทางการ/เป็นกันเอง R2 R3 Oral / written com. สื่อรุก / สื่อรับ Level of com. Transmission Model (ถ่ายทอด) Ritualistic Model (สร้างความเข้าใจร่วมกัน) (Shared) Flow of com. Vertical Horizontal R R

  3. องค์ประกอบของการสื่อสารองค์ประกอบของการสื่อสาร Sender (ผู้ส่งสาร) Message (เนื้อหาสาร) Channel สื่อ/ช่องทาง Receive (ผู้รับสาร) Effect (ผล) S  M  C  R  E บริบทการสื่อสาร

  4. Ritualistic Model S ความเข้าใจความรู้ร่วมกัน อารมณ์/ความรู้สึกร่วมกัน M - C เหตุการณ์/การกระทำ/ประสบการณ์ร่วมกัน R

  5. ระดับของการสื่อสาร การสื่อสารมวลชน (Mass Communication)  การสื่อสารสาธารณะ (Public communication)  การสื่อสารภายในกลุ่มใหญ่/องค์กร (Organizational Communication)  การสื่อสารในกลุ่มเล็กๆ (Small group Communication)  การสื่อสารระหว่างบุคคล (Interpersonal Communication)  การสื่อสารภายในตัวบุคคล (Intrapersonal Communication) 

  6. การรับรู้ R ต่อ S เจตน์จำนงค์ ความสัมพันธ์ ความเชี่ยวชาญ S M C R Effect บริบทแวดล้อม ความน่าไว้วางใจ ปฏิกริยาต่อกัน เป้าหมาย

  7. ความสัมพันธ์ S – M ในการสื่อสารหลายจังหวะ S MCR1 M’ C R2 • ใช้หลาย Media / Channel แต่เนื้อหาเดียว • Two – way com + Feedback • Meaning Control กลไกการแก้ไข

  8. Message M นามธรรม M รูปธรรม M รูปธรรม M รูปธรรม Operation Definition M รูปธรรม พลังปัญญา Message Design Message Strategy โปร่งใส

  9. Channel / Media Media Strategy Media กาละ เทศะ (1) ความหมายของ Channel (2) สื่อมี 2 ประเภท แบบปลุกเสกแล้ว แบบยังไม่ได้ปลุกเสก (3) ทุกอย่างเป็น “สื่อ” ได้ ถ้าเรา ปลุกเสก มอบหมายหน้าที่ • สานสายสัมพันธ์ (Ritualistic Model) • ถ่ายทอดข่าวสาร (Transmission Model)

  10. (4) ความหลากหลายของสื่อ Magazine JR Film Recorded Music (1) สื่อมวลชน (11) สื่อบุคคล Radio TV (10) สื่อกิจกรรม หอกระจายข่าว (2) สื่อชุมชน ประเภทของสื่อ ช่องทางการสื่อสาร การประชุมหมู่บ้าน ป้ายประกาศ (9) สื่อเฉพาะกลุ่ม วิทยุชุมชน (3) สื่อพื้นบ้าน (8) สื่อเฉพาะกาล (4) New Media (7) สื่อเฉพาะกิจ (5) สื่อวัตถุ Tradition (6) สื่อสถานที่ Modern

  11. การใช้สื่อพื้นบ้านช่วยงานสุขภาวะการใช้สื่อพื้นบ้านช่วยงานสุขภาวะ (1) รับผิดชอบได้ทุกพื้นที่ : คนสุขภาพดี (1) พื้นที่รับผิดชอบ : คนป่วย (2) ขอบเขตโรคทางกาย (2) ขอบเขตโรคกว้างขวาง (8) มีความคุ้นเคยทางวัฒนธรรม (8) มักมีช่องว่างทางวัฒนธรรม (3) ลีลาเข้าสู่ปัญหา : แนวกว้าง/ แนวลึก ข้อจำกัดของระบบการแพทย์แผนใหม่ (3) ลีลาเข้าสู่ปัญหา : แนวดิ่ง ข้อเด่นของสื่อพื้นบ้าน (7) ผู้ให้บริการมีมากมาย (7) ผู้ให้บริการมีจำนวนจำกัด (4) วิธีจัดการปัญหา (4) วิธีจัดการกับปัญหา (5) ราคาถูก (6) สถานบริการตั้งรับ/รวมศูนย์ (6) สถานบริการรุก / กระจายตัว เทคโนโลยี (5) ราคาแพง

  12. Receiver / audience Audience Analysis การวางแผนการสื่อสาร(concept – design meeting) การติดตามและประเมินผล การติดตามและประเมินผล สาร / เนื้อหา / ข้อมูล (การออกแบบ) (Message Design) กลุ่มเป้าหมาย (Receiver) S วิธีการนำเสนอ (Presentation) เป้าหมาย (Objective) สื่อ (การเลือกสื่อ) (Media Selection) การติดตามและประเมินผล การติดตามและประเมินผล

  13. ชนชั้นสูง สส.รัฐบาล ชนชั้นกลาง ประชาชน สื่อมวลชน สสส. ชนชั้นล่าง หน่วยงานรัฐ ภาคี ธุรกิจ

  14. 6 4 3 2 1 5 เป็นเทคนิคการเก็บข้อมูลการวิจัยเชิงคุณภาพแบบหนึ่ง เป้าหมาย: ได้ข้อมูลที่มาจากการร่วมคิด / ร่วมแสดงความคิดเห็นระหว่างผู้เสวนา องค์ประกอบ เวทีเสวนา ที่มา (ต้นกำเนิด) ขั้นตอน ก่อน ดำเนินการ หลัง • ลูกผสม คือวิธีการได้ข้อมูล / ข้อคิดเห็นที่ปรับปรุงข้อดีของการพูดคุยตามธรรมชาติ / วิธีการสัมภาษณ์ตามธรรมชาติ แต่ได้ทำเทียมและเลืยนแบบธรรมชาติขึ้นมา วิธีสัมภาษณ์อย่างเป็นทางการ วิธีพูดคุยแบบธรรมชาติ • กำหนดเลือกผู้ร่วมเสวนา • กำหนดเวลาเสวนา • กำหนดสถานที่เสวนา • กำหนดหัวข้อสนทนา • สร้างบรรยากาศให้เป็นกันเองตามธรรมชาติ

  15. ติดตามผล แบ่งงาน วางแผน วิธีการแก้ไข สาเหตุ 10. สรุป / จดบันทึก ปัญหา 1. การนั่งสนทนาระหว่างผู้ร่วมเสวนา (key informants / discussants) 9. จัดระบบเนื้อหาการเสวนา องค์ประกอบเวทีเสวนา 2.ผู้เข้าร่วมเสวนา= ผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholder) 8. ระยะเวลา ==2 ชั่วโมง 3. ทุกคนต้องมีสิทธิและได้แสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่ 7. จัดเวลา / จัดสถานที่ (presetting) 4. การเสวนา ==การสัมภาษณ์รวมหมู่ 6. เตรียมหัวข้อ / ประเด็น (guide question) 5. วิทยากรกระบวนการ (Moderator) • ต้อนรับ / สร้างความสัมพันธ์ (บรรยากาศเป็นกันเอง • อธิบายวัตถุประสงค์ / ขอความร่วมมือ / ตอบข้อข้องใจ (ขออนุญาติบันทึก / เทป) • นำเข้าสู่ประเด็น • ควบคุมการสนทนาให้อยู่ในประเด็น (Focus) • ไม่ร่วมแสดงความคิดเห็น • จัดสมดุลย์ อย่าให้เกิดการครอบงำภายในกลุ่ม (Directive) • คอยวิเคราะห์สถานการณ์ / ข้อมูล สร้างคำถามใหม่ๆ (ต้องทำการบ้านเนื้อหามาก่อน) บทบาทหน้าที่

  16. 8. การไหลของข่าวสาร (Info. Flow) “ระบบรอบทิศทาง” (C) • ความรู้สึก • การกระทำ • ประสบการณ์ • ความเข้าใจ ร่วม 2.สูตรการสื่อสาร “แบบสองทาง” 1. ใช้โมเดล “สร้างความเข้าใจร่วมกัน” 11. PC == product process 3. ผู้ส่ง – ผู้รับ (SR) ผลัดบทกันเล่น การสื่อสารแบบมีส่วนร่วม (Participatory Communication) (PC) 4. ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง / มีส่วนได้ส่วนเสีย / ทุกคน / ทุกกลุ่มได้เข้าร่วม (S – R) 10. อาจเป็นการพูดคุย/ ลายลักษณ์ (C) 9. ประเภทสื่อ “อะไรก็ได้ไม่เกี่ยว” (C) 5. เป็นการเข้าร่วมในหลายๆ บทบาทในแต่ละขั้นตอน (S – R) 6. เนื้อหา / ข่าวสาร / ข้อมูล เกี่ยวข้อง – เป็นประโยชน์ต่อชุมชน / ผู้สื่อสาร (M) 7. อาจใช้ช่องทางเดียว / หลายช่องทาง (C)

  17. นิยามของสุขภาพดีคืออะไรนิยามของสุขภาพดีคืออะไร ความสามารถทำตามบทบาทหน้าที่ ความรู้สึกเป็นสุข สุขภาพดีตามแนวพุทธ การจัดความสัมพันธ์ทางสังคมที่ดี การรวบรวมของเทพิน สุขภาพดีคืออะไร การไม่เจ็บป่วยหรือ เป็นโรค สุขภาพดีตามแนวการแพทย์ทางเลือก ความแข็งแรง สุขภาพดีคือดุลยภาพระหว่าง กาย-จิต-สังคม-สิ่งแวดล้อม ทฤษฎีโรค ทฤษฎีใหม่ด้านสุขภาพ • เน้นโรคเป็นหลัก (Disease – oriented) • ชีวการแพทย์ (Bio – Medical Model) • เน้นดุลยภาพระหว่าง กาย – จิต – สังคม – สิ่งแวดล้อม • การแพทย์ทางเลือก

  18. 2 3 ปริมณฑลของสุขภาพ ทฤษฎีโรค 1 การแพทย์ ความเจ็บป่วยที่นิยามไม่ได้ชัดเจนหรือ “ไม่รู้สาเหตุ” สุขภาพเสีย โรคที่นิยามได้ชัดเจน ทฤษฎีใหม่ด้านสุขภาพ สุขภาพดี

  19. คุณลักษณะของทฤษฎีโรค ผลคืออุปสงค์มากกว่าอุปทาน demands > supply (8) ผู้ดำเนินการมีน้อย/ผู้รับบริการมีแยะ (1) ยุ่งอยู่กับ zone นิดเดียว (7) มีข้อจำกัดเรื่องเวลารักษา (2) รู้/เข้าใจแต่โรคที่มีสาเหตุ ทฤษฎีโรค (3) แยกส่วนดูแต่กายไม่ครบสี่เหลียมสุขภาวะ (6) พื้นที่ตั้งรับ (อยู่โรงพยาบาล) (4) รักษาด้วยเทคโนโลยี (5) มีราคาแพง

  20. คุณลักษณะของทฤษฎีใหม่ด้านสุขภาพคุณลักษณะของทฤษฎีใหม่ด้านสุขภาพ (6) ผู้ดำเนินการ/ พื้นที่ • (1) ความหมายของสุขภาพดี พระเจดีย์แห่งสุขภาพ (3) เครื่องมือการทำงาน ทฤษฎีใหม่ ด้านสุขภาพ (2) เหตุ/ปัจจัยแห่งการเสียดุลยภาพ (3) ขอบเขต การทำงาน Zone  (4) ภารกิจ ภารกิจ มาตรการทางจิต มาตรการทางกาย  ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู มาตรการทางสังคม จิต เครื่องมือ 4 มิติ กาย ดุลยภาพทั้งสี่ มาตรการทางสิ่งแวดล้อม สังคม สิ่งแวดล้อม ผู้ดำเนินการ/พื้นที่  ทุกคน – ทุกกลุ่ม – ทุกองค์กร – ทุกพื้นที่ พระเจดีย์แห่งสุขภาพ

  21. เกิดอุบัติเหตุสมอง ลดอุบัติเหตุสมอง เกิดจากรถมอเตอร์ไซด์ บังคับใช้หมวกกันน๊อค ผลิตหมวกกันน็อคให้มากขึ้น เกิดอุบัติเหตุสมอง ลดอัตราตายด้วยการผ่าตัดสมอง ต้องใช้แพทย์เฉพาะทาง รัฐต้องผลิตหมอให้มากขึ้น หมอย้ายไปทำงานภาคเอกชน วิธีคิดแบบเดิม และแบบปฏิรูปด้านสุขภาพ วิธีคิด แบบเดิม แบบปฏิรูป

  22. 1 คุณลักษณะ (attribute) ของการสุขศึกษา (Health Education) คนใช้การสื่อสารอยู่สายสุขภาพ Direction : vertical + horizontal Unit การทำงานคือปัจเจก Flowเป็นแบบ one way ผู้ส่งสารเป็นผู้รู้ ผู้รับสารเป็นผู้ไม่รู้ มิติ com.ยังดูในกรอบแบบจำลอง S – M – C - R เนื้อหา : เป็นสิ่งใหม่ถอดด้ามจากผู้ส่ง HE Health Education Level of com. เน้น interpersonal / mass communication ความรู้พึ่งพาบุคลากรสาธารสุข การปฏิบัติผู้รับสารทำเอง กลยุทธ์สุขภาพ : เน้นกลยุทธ์การใช้สื่อ (Media Strategy) กลยุทธ์การสื่อสาร เน้น persuasive Effect จาก K สู่ A ลง P Communication As tool / instrument

  23. 2 คุณลักษณะ (attribute) ของการส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion) คนใช้การสื่อสารยังเป็นสายสุขภาพ Direction : vertical + horizontal Unit ขยายจากปัจเจกสู่ชุมชน Flowเริ่มมีทั้ง one + two way ผู้ส่งสารรู้บ้าง/ไม่รู้บ้าง ผู้รับสารไม่ว่างเปล่า/รู้บ้าง ขยายมิติ com.กว้างกว่าแบบจำลอง ดูสังคม / เศรษฐกิจ เนื้อหา : ผนวกเอาภูมิหลังผู้รับสาร HP Health Promotion Level of com. เริ่มขยายหลายระดับ (ระดับกลุ่ม / social support) กลยุทธ์สุขภาพ : เน้นส่งเสริม / ป้องกัน มากกว่าเยียวยา ยังเน้นกลยุทธ์การใช้สื่อ (Media Strategy) กลยุทธ์การสื่อสาร เน้นการโน้มน้าวแบบมีส่วนร่วม Effect จาก K สู่ A ลง P CommunicationขยายออกไปAs tool / As culture

  24. 3 คุณลักษณะ (attribute) ของการสื่อสารสุขภาพ (Health Communication) คนใช้ HCมาจากทุกทิศทาง เปิดกว้างคำนิยามคำว่า “สื่อ” Multi direction ขยายทุกระดับอย่างเชื่อมโยงปัจเจก/ชุมชน/นโยบายสังคม สร้าง Unit ใหม่ๆ เช่นที่ทำงาน/โรงเรียน/วัด ฯลฯ Flowมีทุกทิศทาง มองการสื่อสารแบบองค์รวมเชื่อมโยงกับมิติอื่นๆ ของสังคม Unit HC Health Com. ไม่มีผู้ส่งสาร/ผู้รับที่ตายตัว เน้นการสื่อสารทุกระดับ เนื้อหาสุขภาพ : ประชาชนเป็นเจ้าของสุขภาพ ประสานทั้งกลยุทธ์สื่อและกลยุทธ์สาร สี่เหลี่ยมสุขภาวะ สามเหลี่ยมสุขภาพ กลยุทธ์การสื่อสาร ความหมายสุขภาพ ขยายกลยุทธ์หลากหลาย เช่น การจัดการความขัดแย้ง / การเสริมพลัง / การเป็นปากเป็นเสียง / การสื่อสารเพื่อเปลี่ยนกระบวนทัศน์ เน้นหัวใจการมีส่วนร่วม กลยุทธ์สุขภาพ = สร้างนำหน้าซ่อม Comเป็นทั้ง tool / culture และเป็น social movement Effect สนใจ shared meaning / shared feeling

  25. Com มาช่วยงานสุขภาพ ช่วย Message (Knowledge delivery) Health Education การสื่อสารจะช่วยงานสุขภาพ สังคม (นโยบาย/ธรรมชาติ) ชุมชน กลุ่ม ปัจเจก Health Com. ทุก Level of com. ช่วยได้ครบองค์ประกอบ S – M – C - R ช่วยงานสุขภาวะทั้ง 4 ด้าน (กาย / ใจ /สังคม / จิตวิญญาณ) ช่วยเสริม / ประสานระบบสุขภาพที่มีอยู่

More Related