530 likes | 669 Views
ตารางที่ 1: จำนวนศูนย์ฟอกเลือดที่ได้จากการสำรวจ ข้อมูลโดย อุดม ไกรฤทธิชัย และ TRT Registry. Yr 2002 Yr 2004 Total 362 (100%) 354 (100%) BKK and perimetro- 148 (40.9%) 148 (41.8%) Central (exclude Bkk & peri) 45 (12.4%) 40 (11.3%) Eastern 23 ( 6.4%) 29 ( 8.2%)
E N D
ตารางที่ 1: จำนวนศูนย์ฟอกเลือดที่ได้จากการสำรวจข้อมูลโดย อุดม ไกรฤทธิชัย และ TRT Registry Yr 2002 Yr 2004 Total 362 (100%) 354 (100%) BKK and perimetro- 148 (40.9%) 148 (41.8%) Central (exclude Bkk & peri)45 (12.4%) 40 (11.3%) Eastern 23 ( 6.4%) 29 ( 8.2%) NE 54 (14.9%) 48 (13.6%) North 54 (14.9.%) 54 (15.3%) Southern 38 (10.5%) 35 (10.5%) Perimetro: Nonthaburi, Nakornpatom, Pathumtani, Samutprakarn and Samutsakorn
ภาพที่ 1: จำนวนศูนย์ไตเทียมที่เข้าร่วมกับ TRT Registry ตั้งแต่ปี คศ.1996 - 2003 Number of Centers Participate Year TRT Registry 2004
ตารางที่ 2: แสดงจำนวนศูนย์ไตเทียมกับบริการ RRT ที่เปิดดำเนินการในพื้นที่ต่างๆ ทั่วประเทศไทย แยกประเภทเป็น hemodialysis (HD), continuous ambulatory peritoneal dialysis (PD) และ kidney transplantation (KT) * หมายถึงร้อยละของจำนวนศูนย์บริการทั้งหมดที่รายงานใน TRT Registry ส่วนตัวเลขในวงเล็บอื่นๆ หมายถึงร้อยละของศูนย์ไตเทียมที่มีบริการในประเภทเดียวกัน HD PD KT Total 301(100%)* 56(18.6%)* 24 (8%)* BKK & perimetro 126 (42%) 31 (55%) 17 (71%) Central 33 (11%) 4 (7%) East 18 (6%) 4 (7%) 2 (8.3%) North 51 (17%) 8(14%) 2 (8.3%) NE 42 (14%) 5 (9%) 2 (8.3%) South 31 (10%) 4 (7%) 1 (4.1%) Perimetro: Nonthaburi, Nakornpatom, Pathumtani, Samutprakarn and Samutsakorn
ตารางที่ 3: แสดงจำนวนศูนย์ไตเทียมกับบริการ RRT ที่เปิดดำเนินการในพื้นที่ต่างๆ ทั่วประเทศไทยตามประเภทของเจ้าของผู้ประกอบการ แยกประเภทเป็น hemodialysis (HD), continuous ambulatory peritoneal dialysis (PD) และ kidney transplantation (KT) * หมายถึงร้อยละของจำนวนศูนย์บริการทั้งหมดที่รายงานใน TRT Registry ส่วนตัวเลขในวงเล็บอื่นๆ หมายถึงร้อยละของศูนย์ไตเทียมที่มีบริการในประเภทเดียวกัน HD PD KT Total 301 56 24 Government 140(47%) 48(86%) 13(54%) • University Centers 13 ( 4%) 9 (16%) 6 (25%) • Civil Servant Hospitals 107 (36%) 32 (57%) 5 (21%) • Military Hospitals 20 ( 7%) 7 (13%) 2 ( 8%) Private 151(50%) 6(11%) 11(46%) Foundation 10(3%) 2(4%)
ตารางที่ 4: แสดงจำนวนจังหวัดที่มีศูนย์ไตเทียมเพียงแห่งเดียวในจังหวัดหมายเหตุ รพ.เหล่านี้คือ รพ.ที่เป็น รพ.ของราชการทั้งหมด total number number of provinces of single HD center All provinces 76 21 (27.6%) • BKK and perimetro 6 0 (0%) • Central 12 2 (16.6%) • ประจวบคีรีขันธ์, อ่างทอง • North 17 5 (29.4%) • เพชรบูรณ์, พิจิตร, ลำพูน, อุทัยธานี, แม่ฮ่องสอน • North-East 19 8 (42.1%) • ชัยภูมิ, กาฬสินธุ์, มหาสารคาม, นครพนม, ยโสธร, หนองบัวลำภู, อำนาจเจริญ, มุกดาหาร • East 8 1 (12.5%) • สระแก้ว • South 14 5 (35.7%) • ปัตตานี, พัทลุง, กระบี่, สตูล, ระนอง
ตารางที่ 5: แสดงรายชื่อจังหวัดที่มีหน่วยไตเทียมเพียงหน่วยเดียวต่อจังหวัดเรียงลำดับตามจำนวนประชากรในจังหวัด
Total BKK & Peri Central East NE North South ภาพที่ 2 แสดงการกระจายตัวของเครื่องไตเทียมในประเทศไทย ภาพที่ 2A แสดงการกระจายตัวตามเขตภูมิภาคต่างๆ ของประเทศ ภาพที่ 2B แสดงจำนวนเครื่องไตเทียมเฉลี่ยในศูนย์ในโรงพยาบาล และศูนย์ไตเทียมที่ประกอบการนอกโรงพยาบาล ภาพที่ 2C แสดงการกระจายตัวตามความถี่ของศูนย์ไตเทียมตามจำนวนเครื่องที่มีในแต่ละแห่ง Fig 2A 100% 54.1% 7.3% 6.6% 11.3% 13.4% 7.4% Fig 2B Per Center Fig 2C NB: mean = average machines per part of the country, count = number of centers, sum = number of machines TRT Registry 2004
8% Foundation Foundation Private Gov Cevil Serv Univ Mil Service TRT Registry 2004 ภาพที่ 3: แสดงจำนวนเครื่องไตเทียมทั้งหมดในประเทศไทยที่กระจายตามประเภทของผู้ดำเนินการ NB: mean = average machines per part of the country, count = number of centers, sum = number of machines
ตารางที่ 6 แสดงการกระจายตัวของเครื่องไตเทียมในจังหวัดต่างๆ ในเขตกทม.และจังหวัดในเขตปริมณฑลหมายเหตุ: mean = ค่าเฉลี่ยจำนวนเครื่องไตเทียมต่อจังหวัด, count = จำนวนศูนย์ไตเทียมในจังหวัด, sum = จำนวนเครื่องไตเทียมทั้งหมดที่มีในจังหวัด NB: mean = average machines per province, count = number of centers, sum = number of machines
ตารางที่ 7 แสดงการกระจายตัวของเครื่องไตเทียมในจังหวัดต่างๆ ในเขตภาคกลางยกเว้นกทม.และจังหวัดในเขตปริมณฑลหมายเหตุ: mean = ค่าเฉลี่ยจำนวนเครื่องไตเทียมต่อจังหวัด, count = จำนวนศูนย์ไตเทียมในจังหวัด, sum = จำนวนเครื่องไตเทียมทั้งหมดที่มีในจังหวัด NB: mean = average machines per province, count = number of centers, sum = number of machines
ตารางที่ 8 แสดงการกระจายตัวของเครื่องไตเทียมในจังหวัดต่างๆ ในเขตภาคตะวันออกหมายเหตุ: mean = ค่าเฉลี่ยจำนวนเครื่องไตเทียมต่อจังหวัด, count = จำนวนศูนย์ไตเทียมในจังหวัด, sum = จำนวนเครื่องไตเทียมทั้งหมดที่มีในจังหวัด NB: mean = average machines per province, count = number of centers, sum = number of machines
ตารางที่ 9 แสดงการกระจายตัวของเครื่องไตเทียมในจังหวัดต่างๆ ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือหมายเหตุ: mean = ค่าเฉลี่ยจำนวนเครื่องไตเทียมต่อจังหวัด, count = จำนวนศูนย์ไตเทียมในจังหวัด, sum = จำนวนเครื่องไตเทียมทั้งหมดที่มีในจังหวัด
ตารางที่ 10: แสดงการกระจายตัวของเครื่องไตเทียมในจังหวัดต่างๆ ในเขตภาคเหนือหมายเหตุ: mean = ค่าเฉลี่ยจำนวนเครื่องไตเทียมต่อจังหวัด, count = จำนวนศูนย์ไตเทียมในจังหวัด, sum = จำนวนเครื่องไตเทียมทั้งหมดที่มีในจังหวัด
ตารางที่ 11 แสดงการกระจายตัวของเครื่องไตเทียมในจังหวัดต่างๆ ในเขตภาคใต้หมายเหตุ: mean = ค่าเฉลี่ยจำนวนเครื่องไตเทียมต่อจังหวัด, count = จำนวนศูนย์ไตเทียมในจังหวัด, sum = จำนวนเครื่องไตเทียมทั้งหมดที่มีในจังหวัด NB: mean = average machines per province, count = number of centers, sum = number of machines
ตารางที่ 12: แสดงข้อมูลอัตราส่วนประชากรต่อเครื่องไตเทียม 1 เครื่อง เรียงลำดับจากมากสุดมาน้อยสุด (รายงานเฉพาะ 40 จังหวัดแรก)
90 80 70 60 50 40 30 20 10 0 0 2 4 6 8 10 12 14 ภาพที่ 4: แสดงความถี่การกระจายตัวตามจำนวนต่อศูนย์ไตเทียมของอายุรแพทย์และกุมารแพทย์โรคไตที่ปฏบัติงานเต็มเวลาในประเทศไทย Number of Centers Total Nephrologists = 222 in 168 centers Number of Full-Time Nephrologists / Center TRT Registry 2004
ตารางที่ 13: แสดงการกระจายตัวของอายุรแพทย์และกุมารแพทย์โรคไตที่ปฏบัติงานเต็มเวลาในเขตภูมิภาคต่างๆ ในประเทศไทยหมายเหตุ: mean หมายถึงค่าเฉลี่ยในแต่ละภาค, count หมายถึงจำนวนศูนย์ไตเทียมในแต่ละภาคที่รายงานข้อมูล และ sum หมายถึงจำนวนยอดรวมทั้งหมด NB: Mean = average nephrologist within each part Count = number of centers Sum = number of nephrologists TRT Registry 2004
ตารางที่ 13: แสดงจำนวนผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่ได้รับการรักษาบำบัดทดแทนไตในศูนย์ไตเทียม 350 ศูนย์ในปีพ.ศ. 2546(รายงานเมื่อ 31 ธันวาคม 2546, ประมาณตัวเลขประชากรไทยในปีเดียวกัน 64 ล้านคน) total % per M pop • Point Prevalence • HD 11990 79.9 187.3 • PD 1000 6.7 15.6 • KT with functioning graft 2014 13.4 31.5 • Total 15004 100.0 234.4 • Incidence • HD 4800 90.6 75.0 • PD 144 2.7 2.3 • KT 353 6.7 5.5 • Total 5297 100.0 82.8 TRT Registry 2004
ตารางที่ 14 แสดงจำนวนจังหวัดที่ไม่มีแพทย์ที่มีคุณวุฒิอายุรศาสตร์โรคไตหรือกุมารเวชศาสตร์โรคไตหรือมีเพียง 1 คนต่อ 1 จังหวัด ratio per Total With current number of nephrologist0 1 Total 41 12 55/76(72%) • BKK and perimetro 0 0 0/6 (0) • Central 6 1 7/12 (58%) • East 4 1 5/8 (63%) • North 11 3 14/17(82%) • North-East 13 2 15/19(79%) • South 7 5 12/14(86%)
ตารางที่ 15: แสดงรายชื่อจังหวัดที่ไม่มีแพทย์คุณวุฒิอายุรศาสตร์โรคไตหรือกุมารเวชศาสตร์โรคไตปฏิบัติงานอยู่ โดยเรียงลำดับตามจำนวนประชากรในพื้นที่จังหวัด
ตารางที่ 16: แสดงรายชื่อจังหวัดเรียงตามสัดส่วนผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายที่กำลังรับการรักษาด้วยวิธีฟอกเลือดต่อจำนวนแพทย์โรคไตที่มีคุณวุฒิอายุรศาสตร์โรคไตหรือกุมารเวชศาสตร์โรคไต(ไม่นับจังหวัดที่ไม่มีแพทย์โรคไตที่มีคุณวุฒิอายุรศาสตร์โรคไตหรือกุมารเวชศาสตร์โรคไต) *
ตารางที่ 17: แสดงรายชื่อจังหวัดเรียงลำดับตามสัดส่วนจำนวนประชากรต่อแพทย์โรคไตที่ปฏิบัติงานเต็มเวลาและมีคุณวุฒิอายุรศาสตร์โรคไตหรือกุมารเวชศาสตร์โรค *
ตารางที่ 18: แสดงรายชื่อจังหวัดที่ไม่มีแพทย์อายุรศาสตร์โรคไตหรือกุมารเวชศาสตร์โรคไตปฏิบัติงานเต็มเวลา โดยกระจายข้อมูลบุคลากรที่มีแยกเป็น พยาบาลผู้เชี่ยวชาญโรคไต, จำนวนศูนย์ที่เปิดบริการ CAPD, จำนวนแพทย์ที่เข้ารับการฝึกอบรมไตเทียมหลักสูตร 4 เดือน และแพทย์ซึ่งสอบได้วุฒิบัตรหรืออนนุมัติบัตรอายุรศาสตร์ทั่วไปแต่มิได้เข้ารับการฝึกอบรมไตเทียม
ตารางที่ 19: แสดงการกระจายตัวของพยาบาลผู้เชี่ยวชาญโรคไตตามภูมิภาคต่างๆในประเทศไทยหมายเหตุ: mean หมายถึงจำนวนเฉลี่ยต่อศูนย์, count หมายถึงจำนวนศูนย์ในแต่ละภาค, min max และ sum หมายถึงจำนวนที่น้อยที่สุด มากที่สุด และยอดรวมของแต่ละภาค % 100 70 3.5 4.5 8.2 9.6 4.2 TRT Registry 2004
ตารางที่ 20: แสดงจำนวนจังหวัดในแต่ละภาคที่ไม่มี หรือมีพยาบาลผู้เชี่ยวชาญโรคไตปฏิบัติงานอยู่เพียงรายเดียว of Total provinces With current number of SRN 0 1 Total 43 3 46/76(61%) • BKK and perimetro 0 0 0/6 (0%) • Central 8 0 8/12 (67%) • East 5 0 5/8 (62.5%) • North 10 2 12/17 (71%) • North-East 11 0 11/19 (58%) • South 9 1 10/14 (71%)
ตารางที่ 21: แสดงรายชื่อจังหวัดที่ยังไม่มีพยาบาลผู้เชี่ยวชาญโรคไตปฏิบัติงานอยู่เต็มเวลาเรียงลำดับตามจำนวนประชากร Population BKK: Sen Ren Nurse = 20,968:1
ตารางที่ 22: แสดงรายชื่อจังหวัดที่มีพยาบาลไตเทียมหลักสูตร 4 เดือนปฎิบัติงานเต็มเวลาเรียงลำดับตามสัดส่วนประชากรต่อจำนวนพยาบาลดังกล่าวจำนวน 1 คน
ตารางที่ 23: แสดงจำนวนบุคลากรโรคไตที่สำเร็จการฝึกอบรมและสอบได้วุฒิบัตร/อนุมัติบัตร* หรือประกาศนียบัตร**ในแต่ละปี 2001 2002 2003 Nephrologists* 19 18 20 Senior Renal Nurses** 61 69 81 Certified Renal Nurses** 110 110 122
ตารางที่ 24: แสดงรายชื่อจังหวัดที่มีจำนวนผู้ป่วย ESRD รักษาด้วยการฟอกเลือดในจำนวนมากกว่า 200 คนต่อล้านประชากร เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย
ตารางที่ 25: แสดงรายชื่อจังหวัดที่มีจำนวนผู้ป่วย ESRD รักษาด้วยการฟอกเลือดในจำนวน100-200อคนต่อล้านประชากร เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย
ตารางที่ 26: แสดงรายชื่อจังหวัดที่มีจำนวนผู้ป่วย ESRD รักษาด้วยการฟอกเลือดในจำนวน 50-100 คนต่อล้านประชากร เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย
ตารางที่ 27: แสดงรายชื่อจังหวัดที่มีจำนวนผู้ป่วย ESRD รักษาด้วยการฟอกเลือดในจำนวนต่ำกว่า 50 คนต่อล้านประชากร เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย
ตารางที่ 28 A-B: จำนวนบุคลากรและศูนย์ CAPD ในเขตภาคกลาง (ตารางบน) และเขตกรุงเทพ-ปริมณฑล (ตารางล่าง)
ตารางที่ 29: จำนวนบุคลากรและศูนย์ CAPD ในเขตภาคตะวันออก
ตารางที่ 30: จำนวนบุคลากรและศูนย์ CAPD ในเขตภาคเหนือ
ตารางที่ 31: จำนวนบุคลากรและศูนย์ CAPD ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตารางที่ 32: จำนวนบุคลากรและศูนย์ CAPD ในเขตภาคใต้
ตารางที่ 33: แสดงจำนวนบุคลากรที่ปฏิบัติงานในคณะปลูกถ่ายไตในประเทศไทย สำรวจเมื่อ มิย.2547 โดยสมาคมปลูกถ่ายอวัยวะแห่งประเทศไทย
ภาพที่ 5: แสดงความสัมพันธ์ระหว่างทรัพยากรที่ใช้ในการฟอกเลือดกับจำนวนประชากรในแต่ละจังหวัด BKK BKK BKK BKK
ภาพที่ 6: แสดงความสัมพันธ์ระหว่างทรัพยากรที่ใช้ในการฟอกเลือดกับจำนวนผู้ป่วย ESRD ที่รับการรักษาด้วยการฟอกเลือดในแต่ละจังหวัด Figure 6
ภาพที่ 7: แสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนผู้ป่วยในแต่ละจังหวัดกับจำนวนแพทย์โรคไตซึ่งมีคุณวุฒิอายุรศาสตร์โรคไตหรือกุมารเวชศาสตร์โรคไตที่ปฏิบัติงานเต็มเวลาในแต่ละจังหวัด
ภาพที่ 8: แสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนผู้ป่วยในแต่ละจังหวัดกับจำนวนพยาบาลผู้เชี่ยวชาญโรคไตที่ปฏิบัติงานเต็มเวลาในแต่ละจังหวัด
ภาพที่ 9: แสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนผู้ป่วยในแต่ละจังหวัดกับจำนวนพยาบาลไตเทียมหลักสูตร 4 เดือนซึ่งมีคุณวุฒิอายุรศาสตร์โรคไตหรือกุมารเวชศาสตร์โรคไตที่ปฏิบัติงานเต็มเวลาในแต่ละจังหวัด
ภาพที่ 10: แสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนผู้ป่วยในแต่ละจังหวัดกับจำนวนเครื่องไตเทียมในแต่ละจังหวัด
ภาพที่ 11. แสดงความสัมพันธ์ของทรัพยากรบุคคล, จำนวนผู้ป่วย CAPD และจำนวนประชากรในแต่ละจังหวัด A B BKK BKK C D BKK BKK
ตารางที่ 36: แสดงการคาดคะเนจำนวนทรัพยากรบุคคลและเครื่องไตเทียมเมื่อกำหนดให้ค่าอุบัติการณ์ ESRD เป็น 150 ต่อล้านประชากรในปี 2548
ตารางที่ 37: แสดงการคาดคะเนจำนวนทรัพยากรบุคคลและเครื่องไตเทียมเมื่อกำหนดให้ค่าอุบัติการณ์ ESRD เป็น 250 ต่อล้านประชากรในปี 2548
TRT Method Survival 2001(Kaplan-Meier) HD (n 5338) 1 yr survival 0.91 5 yr survival 0.59 T ½ = 6.7+0.1 yrs PD (n 1131) 1 yr survival 0.87 5 yr survival 0.51 T ½ = 5.1+0.3 yrs Logrank(Mantel-Cox) (Months) TRT Report 2003
Project HD ResourcesRequiring for CAPD Method Failure NB: HD Resources are required atat the place where PD patients come from
All Resources Needed for Additional PD Project • For counseling and registrationNurse 1 + assistant 1 • For pre op and post op catheter insertion careNurse 1 + assistant 1 • For exchange trainingNurse 2 + assistant 2 • For follow up and manage complications • Nurse 1 + assistant 1 • HD Back up resourcesHD center, machine, nurse, assistant, MD