80 likes | 88 Views
การขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกัน และควบคุมโรควัณโรค จังหวัดลำพูน ประจำปีงบประมาณ 2562. วันที่ 31 เดือน มกราคม พ.ศ. 2562 เวลา 13.00 – 16.30 น. ณ ห้อง ประชุมดอกป้าน สำนักงาน สาธารณสุขจังหวัดลำพูน. นำเสนอโดย นายณรงค์เดช นัน ตาเวียง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
E N D
การขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรควัณโรค จังหวัดลำพูน ประจำปีงบประมาณ 2562 วันที่ 31 เดือน มกราคม พ.ศ. 2562 เวลา 13.00– 16.30น.ณ ห้องประชุมดอกป้าน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูน นำเสนอโดย นายณรงค์เดช นันตาเวียง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
ผลการรายงานผลการคัดกรอง CXR กลุ่มเสี่ยง แยกรายอำเภอ ปีงบ 2562 ที่มา : ข้อมูลจากการสำรวจ ณ 20 ม.ค. 2562 ร้อยละ
รายงานผลการขึ้นทะเบียนรักษาตาม (PA)แยกรายอำเภอ จังหวัดลำพูน ปีงบ 2562 • 156/ปชก.แสนคน = 633 คน • 82.5% = 526 คน • ค้นพบ/รักษาแล้ว 13.11% = 83 คน ที่มา : TBCM Online 20/01/2562
แผนการคัดกรองของแต่ละพื้นที่เริ่มดำเนินการค่อนข้างช้า ในช่วงไตรมาสแรก • ให้ปรับแผนการคัดกรองในกลุ่มเสี่ยงสูง ให้ได้มากกว่า ร้อยละ 90 ภายในเดือน มีนาคม 2562 (ผู้ตรวจราชการ แจ้งในการประชุม VDO conference วันที่ 29 ม.ค. 2562) • ในระดับจังหวัด ท่าน ผชช.ว . ขอตามเรื่อง การคัดกรองผ่านทางช่องทางไลน์ทุกอาทิตย์ / ให้ทุกพื้นที่ ปรับแผนการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง ให้ทุก CUP จัดส่งแผน/ตารางปฏิบัติงาน โดยกำหนดให้แล้วเสร็จภายในเดือน มี.ค. 2562 (โดยระบุ วัน / เวลา /สถานที่ จุดดำเนินการ จำนวน......ราย) และ กำหนด /ระบุให้ชัดเจน ว่า ภายในอีก 2 สัปดาห์ของเดือน ก.พ. ก่อนผู้ตรวจฯ เข้า ภาพรวมต้องได้ >30% และถึงสิ้นเดือน มี.ค. ..90 % • ให้ IT ทุก รพช. ที่มีระบบ Hosxpประสานกับ IT รพ.แม่ทา เรื่องการจัดทำระบบ pop-up ช่วยเตือนการค้นหา คัดกรองกลุ่มเสี่ยง และ การสรุปรายงานผลการคัดกรอง (เป้า/ผลงาน) บน DHDC (ผอ.รพ.แม่ทา อนุญาตให้นำไปเผยแพร่ต่อ ภายในจังหวัดได้) การวินิจฉัยวัณโรค มีปัญหาเรื่องคุณภาพของการเก็บเสมหะ ส่งตรวจ • ขอเพิ่มเจ้าหน้าที่ห้อง LAB ทุกหน่วยงบริการร่วมเป็นคณะกรรมการพัฒนาระบบบริการ (งานวัณโรค) • มอบหมายให้ ทีมของ รพ.ป่าซาง ทำแนวปฏิบัติ การเก็บเสมหะในการส่งตรวจที่มีคุณภาพ ข้อค้นพบในการคัดกรองและการขึ้นทะเบียน และข้อมอบหมาย/สั่งการ
ตารางออกปฏิบัติงาน CXR ด้วย Mobile X-ray & X-ray Digital/Film
ความก้าวหน้าการดำเนินงานตามตัวชี้วัด PA งานวัณโรค ปี 2562แยกรายอำเภอ • อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (> ร้อยละ 85) ที่มา : TBCM Online 20/01/2562 • อัตราการค้นพบ/ขึ้นทะเบียนรักษา ใน Cohort 1 ปี 62> ปี 61 ร้อยละ 36 • อัตราการเสียชีวิตใน Cohort1 ร้อยละ 3.8
ผลการดำเนินการตามมาตรการด้านการดูแลรักษากลุ่มเสี่ยงเสียชีวิต แยกรายอำเภอ จังหวัดลำพูน ปีงบประมาณ 2562 ที่มา : ข้อมูลจากการสำรวจ ณ 20 ม.ค. 2562 • ดำเนินการจัดตั้งทีม case managementteam 6 ทีม • พบกลุ่มเสี่ยงต่อการเสียชีวิตที่ต้องดูแลอย่างใกล้ชิด จำนวน 29 ราย(93 ราย) • พิจารณา Admit 75.8% • เยี่ยมบ้านทุกวัน ในกรณี กรณี admit < 2 wksและ ไม่ Admit โดย จนท.สธ. 36.7% (เนื่องจากตัวผู้ป่วยและญาติ ปฏิเสธการลงเยี่ยมติดตาม/DOT โดย จนท. • ทีม จนท. เพิ่มช่องทางการติดตาม/DOT ผ่านไลน์ หรือโทรศัพท์ ของญาติและ อสม. • ติดตาม Case Risk Dead ผ่านทางระบบ Cloud Conference ระดับจังหวัด อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง • ติดตาม Case ผ่านทางcase managementteam ระดับอำเภอ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
จังหวัด Case Risk Dead ผ่านทางระบบ Cloud Conference ระดับจังหวัด อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง เน้นการปรึกษาการรักษาระหว่างแพทย์ผู้ทำการรักษาและผู้เชี่ยวชาญระดับจังหวัด (ผู้ตรวจราชการ แจ้งในการประชุม VDO conference วันที่ 29 ม.ค. 2562 ที่ผ่านมา) • ท่าน ผชชว. ให้พื้นที่ทำการติดตามกลุ่มเป้าหมายที่กำลังรักษาอยู่ใน Cohort1 จำนวน 51 ราย และโดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงสูง จำนวน 29 ราย นำข้อมูลเสนอ/ปรึกษา แพทย์ผู้เชี่ยวชาญระดับจังหวัด ในเวทีประชุมฯ วันที่ 8 ก.พ. 2562 นี้ • ทุกโรงพยาบาลจัดตั้งทีม case management team และ จัดทำ care plan เฉพาะราย ทุก case ก่อน discharge หรือ ส่งต่อผู้ป่วยให้พื้นที่ รพ.สต. ดูแลต่อ ในระยะ Intensive Monitoring • ในขณะนี้ คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการ (งานวัณโรค) จัดทำ แนวทาง การจัดกลุ่มฯและการจัดกิจกรรมวางแผนการคัดกรอง การดูแล รักษา วัณโรค จังหวัดลำพูน คาดว่า จะสามารถเอาเข้าที่ประชุมคณะกรรมการฯ ในวันที่ 8 ก.พ. 2562 นี้ ข้อคิดเห็น/มอบหมาย