1 / 21

วิชา เทคโนโลยีผักและผลไม้ Fruit and Vegetable Technology ภาคการศึกษาที่ 1/2551

วิชา เทคโนโลยีผักและผลไม้ Fruit and Vegetable Technology ภาคการศึกษาที่ 1/2551. อาจารย์ผู้สอน : ผศ. ผกามาส ปุรินทราภิบาล คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย. การทำแห้ง : ผัก. การเตรียมการก่อนการทำแห้งผัก : การขจัดไข สามารถกระทำได้ดังนี้

jerrell
Download Presentation

วิชา เทคโนโลยีผักและผลไม้ Fruit and Vegetable Technology ภาคการศึกษาที่ 1/2551

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิชา เทคโนโลยีผักและผลไม้Fruit and Vegetable Technologyภาคการศึกษาที่ 1/2551 อาจารย์ผู้สอน : ผศ. ผกามาส ปุรินทราภิบาล คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย

  2. การทำแห้ง:ผัก • การเตรียมการก่อนการทำแห้งผัก: การขจัดไข สามารถกระทำได้ดังนี้ • 1. ใช้น้ำเดือดเป็นเวลาอย่างน้อย 30 วินาที • แล้วแช่ในน้ำเย็นก่อนสะเด็ดน้ำ • หรือ • 2 การลวกด้วยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์หรือโพแทสเซียม • ไฮดรอกไซด์ เข้มข้นร้อยละ 0.1 – 0.2 อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส • เวลา 2 – 3 วินาที แล้วแช่ในน้ำเย็นก่อนสะเด็ดน้ำ

  3. ตัวอย่างลักษณะของผักแห้งตัวอย่างลักษณะของผักแห้ง

  4. ตัวอย่างการทำผักกาดแห้งตัวอย่างการทำผักกาดแห้ง • 1. ล้างผักให้สะอาด นำผักไปนึ่ง ประมาณ 5 - 10 นาที • 2. นำผักไปแช่นำเกลือ ( เกลือ 3 ช้อนโต๊ะ ต่อ น้ำ 10 ถ้วย) เวลา 5 นาที 3 นำผักไปตากแดดประมาณ 2 วัน เมื่อแห้งสนิท นำไปบรรจุในภาชนะที่ปิดสนิท

  5. มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนผักกาดแห้ง(มผช.287/2547)มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนผักกาดแห้ง(มผช.287/2547) • ขอบข่าย • มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนนี้ครอบคลุมเฉพาะผักกาดแห้งที่ผ่านกรรมวิธีการทำให้เค็มและแห้ง บรรจุในภาชนะบรรจุ • บทนิยาม • ผักกาดแห้งหมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการนำผักกาดเขียวปลีหรือผักกาดชนิดอื่นที่เหมาะสม ทั้งหัวหรือทำเป็นชิ้นตามขนาดที่ต้องการ อาจนำมาลวกก่อนการหมักเกลือ แล้วนำไปทำให้แห้งด้วยการตากแดดหรืออบแห้งโดยใช้พลังงานอื่นๆ

  6. มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนผักกาดแห้ง(มผช.287/2547) (ต่อ) • คุณลักษณะที่ต้องการ • 1. มีลักษณะที่ดีตามธรรมชาติของผักกาดแห้ง • 2. มีสีที่ดีตามธรรมชาติของผักกาดแห้ง • 3 การทดสอบลักษณะทั่วไป สี และ กลิ่นรส • 3.1 ใช้กรรมการ 5 คน ทดสอบโดยอิสระ • 3.2 วางตัวอย่างผักกาดแห้งในจานกระเบื้องสีขาว • 3.3 หลักเกณฑ์การให้คะแนนและผลการตัดสินจะต้องไม่มีลักษณะ • ใดได้คะแนน 1 และคะแนนเฉลี่ยแต่ละลักษณะจากผู้ • ทดสอบทุกคนไม่น้อยกว่า 3 คะแนน

  7. มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนผักกาดแห้ง(มผช.287/2547) (ต่อ)

  8. มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนผักกาดแห้ง(มผช.287/2547) (ต่อ) • 4. ต้องไม่พบสิ่งแปลกปลอมที่ไม่ใช่ส่วนประกอบที่ใช้ เช่น เส้นผม • ขนสัตว์ ดิน ทราย กรวด ชิ้นส่วนหรือสิ่งปฏิกูลจากสัตว์ • 5. ห้ามใช้วัตถุเจือปนอาหารและสีสังเคราะห์ทุกชนิด • 6. วอเตอร์แอกติวิตี้ ต้องไม่เกิน 0.65 • 7. เกลือ ต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 โดยน้ำหนัก • 8. จำนวนจุลินทรีย์ทั้งหมด ต้องไม่เกิน 1 x 104 โคโลนีต่อกรัม • 9. ยีสต์และรา ต้องไม่เกิน 100 โคโลนี ต่อตัวอย่าง 1 กรัม

  9. การทำผักแห้งแบบต่างๆและคุณค่าทางโภชนาการการทำผักแห้งแบบต่างๆและคุณค่าทางโภชนาการ • ผักตำลึง • วิธีการ ล้างผักตำลึงด้วยน้ำและวางให้สะเด็ดน้ำ นำไปอบในตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ ที่มีอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส

  10. การเปลี่ยนแปลงความชื้นของตำลึงขณะให้ความร้อนที่ 60 องศาเซลเซียส • ความชื้น(ร้อยละ)

  11. การทำแห้งใบกะเพราชนิดกะเพราขาวและกะเพราแดง(อ้างอิง : สิงหนาท พวงจันทร์แดง ปัญญา แสนชัย และ กฤษณ์ จันท์โชติกุล, การพัฒนาเครื่องทำแห้งแบบลดความชื้นเพื่อพัฒนาการทำแห้งพืชผักสมุนไพรไทย ( ใบกะเพรา),2003, อาหาร : 33(2) – เมษายน – มิถุนายน หน้า 146 – 155) • เครื่องทำแห้งชนิดheat pump dryerขนาด 95x180x170 ซม2

  12. ลักษณะของตู้อบลมร้อนชนิดธรรมดาและการจัดวางภายในตู้ลักษณะของตู้อบลมร้อนชนิดธรรมดาและการจัดวางภายในตู้

  13. ปริมาณน้ำมันหอมระเหยในใบกะเพราอบที่ 40 องศาเซลเซียส

  14. ปริมาณน้ำมันหอมระเหยในใบกะเพราอบที่ 50 องศาเซลเซียส

  15. การทำแครอทแห้ง(อ้างอิง : T.Baysal, S.Ersus and F.Icier, Effects of Microwave and Hot Air Combination Drying on the Quality of Carrots, 2002,Food Sci. Biotechnol. : 11(1) 19-23 ) • วิธีการ • raw carrot (Nantes variety ) • sorting , peeling and washing • slicing into 3+ 1 mm. thickness • blanching ( 98 + 1 ºc for 2 min. and draining for 1 min.) • Hot air drying • 60+ 2 ºc with 0.3 – 0.45 m./sec. air velocity • input wetbulb 65 ºc drybulb 35 ºc and output wetbulb 64ºc drybulb 40ºc • until reach a constant weight

  16. วัดค่าสีของแครอท ด้วยระบบ Hunter Lab ในรูป colour value = E* = [ (L* )2+ (a* )2 + (b* )2 ]1/2 colour intensity = chroma, C* = [ (a* )2 + (b* )2 ]1/2 Hue angle = tan-1 (b/a)

  17. คุณลักษณะของแครอทแห้งคุณลักษณะของแครอทแห้ง

  18. ลักษณะแครอทอบแห้ง • แครอทอบแห้งและแครอทอบแห้งที่ผ่านการคืนรูป(rehydration)

  19. วัตถุดิบเนื้อฟักทอง อบในตู้อบลมร้อน อุณหภูมิ 50องศา เซลเซียส เวลา 12 ชั่วโมง การทำฟักทองแห้งฟักทองลวก/อบแห้ง ฟักทองสด/อบแห้ง

  20. 1. ตัวอย่างควบคุม คือ ฟักทองสับละเอียด อบแห้ง 2. แช่ด้วยกรดซิตริกที่ความเข้มข้นร้อยละ 0.1นาน 15นาที สับละเอียด อบแห้ง 3. แช่ด้วยสารละลายโพแตสเซียมเมตาไบซัลไฟด์นาน 10นาทีสับละเอียด อบแห้ง 4. ลวกด้วยน้ำเดือดนาน 1 นาที แล้วแช่น้ำเย็นทันที สับละเอียด อบแห้ง 5. สับละเอียด บีบน้ำที่ความดัน 100 บาร์ด้วยเครื่อง hydrolic pressอบแห้ง 6. สับละเอียด ทำแห้งด้วยเครื่องทำแห้งแบบลูกกลิ้งคู่ ที่ระยะห่างลูกกลิ้ง 0.2 ซม. และความเร็ว 2 รอบต่อนาที ความดันไอน้ำ 40 ปอนด์ และอุณหภูมิ ไอร้อนระหว่างผิวลูกกลิ้ง 120 องศาเซลเซียส การผลิตฟักทองผง : เปรียบเทียบ 6 วิธีการ(อ้างอิง:จิรภา พง์จันตา สมชาย จอมดวงและ รัตนพล พนมวัง ณ อยุธยา, 2003, ผลของกรรมวิธีการเตรียมและการอบแห้งต่อคุรภาพฟักทองผง, อาหาร : 33(1),มกราคม – มีนาคม หน้า 68 -76)

  21. คุณภาพฟักทองผง

More Related