1.04k likes | 1.24k Views
การคำนวณต้นทุนผลผลิต ปีงบประมาณ 254 9. หัวข้อบรรยาย :. พรฎ. กิจการบ้านเมืองที่ดี 2546. หลักเกณฑ์วิธีการคำนวณต้นทุนผลผลิต. วิธีการจัดทำต้นทุนผลผลิต. ตารางรายงานการคำนวณ ต้นทุผลผลิต. ตัวอย่างการจัดทำบัญชีต้นทุน ในปี 47. ความเป็นมา. ความเป็นมา. พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วย
E N D
การคำนวณต้นทุนผลผลิต ปีงบประมาณ 2549
หัวข้อบรรยาย: พรฎ. กิจการบ้านเมืองที่ดี 2546 หลักเกณฑ์วิธีการคำนวณต้นทุนผลผลิต วิธีการจัดทำต้นทุนผลผลิต ตารางรายงานการคำนวณ ต้นทุผลผลิต ตัวอย่างการจัดทำบัญชีต้นทุน ในปี 47
ความเป็นมา พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพ และ เกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ หมวด 4
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาตรา 21 วรรคแรก ให้ส่วนราชการจัดทำบัญชีต้นทุน ในงานบริการสาธารณะแต่ละประเภทขึ้น ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กรมบัญชีกลางกำหนด
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาตรา 21 วรรคสอง ให้ส่วนราชการคำนวณรายจ่ายต่อหน่วย ของงานบริการสาธารณะที่รับผิดชอบ ตามระยะเวลาที่กรมบัญชีกลางกำหนด และ รายงานให้ สงป. กรมบัญชีกลาง และ ก.พ.ร. ทราบ
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาตรา 21 วรรคสาม ให้ส่วนราชการจัดทำแผนการลดรายจ่ายต่อหน่วย ของงานบริการสาธารณะดังกล่าว เสนอ สงป. กรมบัญชีกลาง และ ก.พ.ร. ทราบ
หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต
หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต วัตถุประสงค์ เพื่อให้ได้ข้อมูลต้นทุนงานของแต่ละส่วนงาน อันจะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารทุกระดับ ในการวัดผลการดำเนินงาน และปรับปรุง เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต แนวคิด โครงสร้างแบ่งส่วนราชการของกรมฯ เป็นสำนัก กลุ่ม กอง ศูนย์ ตามภาระกิจที่สอดคล้องกับพันธกิจ ตามกฎกระทรวง แต่ละสำนัก กอง ศูนย์ มีกิจกรรม เฉพาะเพื่อสร้างผลผลิตที่แต่ละแห่งรับผิดชอบ
หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ประโยชน์ 1. ตรวจสอบต้นทุนทรัพยากรที่ใช้ในงานที่รับผิดชอบ 2. วัดผลการดำเนินงาน 3. ปรับปรุงกระบวนการทำงาน 4. วางแผนการทำงาน 5. วัดความคุ้มค่าของงาน
หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ความหมายและคำจำกัดความ
หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต การบัญชีต้นทุน Cost accountingหมายถึง การบัญชีเกี่ยวกับการบันทึก การจำแนกการปันส่วน การสรุป และการรายงาน ข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนผลิตภัณฑ์หรือบริการให้กับ ผู้บริหาร
หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ต้นทุน Cost หมายถึง รายจ่าย เพื่อให้ได้มาซึ่งสินค้าหรือ บริการ ซึ่งอาจเป็นเงินสด สินทรัพย์อื่น หรือการก่อหนี้ ผูกพัน ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการได้มาซึ่งสินค้าและ บริการ
หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ต้นทุนทางตรง Direct Costหมายถึง ค่าใช้จ่ายที่สามารถระบุเข้าสำนัก กอง ศูนย์ กลุ่มที่เป็นผู้ผลิตผลผลิตได้อย่างเจาะจงว่า ใช้ไปเท่าไรในการผลิตผลผลิตใด
หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ต้นทุนทางอ้อม Indirect Costหมายถึง ค่าใช้จ่ายที่หลายๆ สำนัก กอง ศูนย์ กลุ่มใช้ร่วมกันในการผลิตผลผลิต ไม่เป็น ค่าใช้จ่ายเฉพาะของ Cost Centerใดเพียงแห่งเดียว
หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต การปันส่วนต้นทุน Allocationหมายถึง การแบ่งส่วนค่าใช้จ่ายไปยัง กิจกรรม กระบวนการผลิต การดำเนินงาน หรือ ผลผลิตตามเกณฑ์ต่างๆ
หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ต้นทุนรวม Full Costหมายถึง ผลรวมของต้นทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้น ในการผลิตผลผลิตของหน่วยงาน โดยไม่ต้องคำนึง แหล่งเงินทุน และเป็นการคำนวณจากตัวเลขค่าใช้จ่าย ที่บันทึกบัญชีตามเกณฑ์คงค้าง
หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ผลผลิต Outputหมายถึง ผลิตภัณฑ์หรือบริการที่หน่วยงาน ภาครัฐทำการผลิตและส่งมอบให้กับบุคคลภายนอก ใช้เป็นเกณฑ์ในการกำหนดราคาผลผลิต และจัดสรร เงินลงทุน หลักในการพิจารณาแนวโน้มการดำเนินงาน เพื่อวัดผลการดำเนินงาน
หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต งานบริการสาธารณะ Public Serviceหมายถึง ผลผลิตของหน่วยงานภาครัฐ ที่มุ่งเน้นประโยชน์สุขแก่ประชาชนโดยทั่วถึง
หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต หน่วยต้นทุน Cost Centerหมายถึง หน่วยงานภายในส่วนราชการที่ กำหนดขึ้นตามโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ ซึ่งแต่ละหน่วยงานจะมีการดำเนินกิจกรรมที่ต้องใช้ ทรัพยากรหรือต้นทุนในการผลิตผลผลิต
หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต หน่วยงานหลัก Functional Cost Centerหมายถึง หน่วยงานที่มีหน้าที่ โดยตรงในการสร้างผลผลิต หรือมีส่วนร่วมในการ สร้างผลผลิตของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต หน่วยงานสนับสนุน Support Cost Centerหมายถึง หน่วยงานที่ทำหน้าที่ให้ บริการกับหน่วยงานหลัก หรือทำงานสนับสนุน
หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ขั้นตอนที่ 1 ระบุผลผลิตของหน่วยงาน ขั้นตอนที่ 2 ระบุกิจกรรมหลักที่เกี่ยวข้องกับผลผลิต ขั้นตอนที่ 3 ระบุสำนัก กอง ศูนย์ (Cost Center)
หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ขั้นตอนที่ 4 ระบุต้นทุนรวมของทุก Cost Center ขั้นตอนที่ 5 กระจายต้นทุนหน่วยสนับสนุนเข้าหลัก ขั้นตอนที่ 6 รวมต้นทุนเชื่อมโยงสู่กิจกรรม/ผลผลิต
หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ผลผลิต Cost จาก GL สำนัก กอง ศูนย์ กิจกรรม หลัก 12 + 3 ค่าใช้จ่าย ทางตรง 100 กิจกรรม 1 ผลผลิต 1 หลัก 18 + 2 หลัก 17 + 3 กิจกรรม 2 หลัก 8 + 2 หลัก 15 + 5 ผลผลิต 2 หลัก 20 + 5 กิจกรรม 3 รวม 110 ค่าใช้จ่าย ทางอ้อม 30 สนับสนุน 6 + 4 กิจกรรม 4 ผลผลิต 3 สนับสนุน 4 + 6 รวม 20 กิจกรรม 5 รวมทั้งหมด 130 รวม 130
วิธีการจัดทำต้นทุนผลผลิตวิธีการจัดทำต้นทุนผลผลิต • เตรียมข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับ • ผลผลิต • กิจกรรม • ศูนย์ต้นทุน • เกณฑ์การปันส่วน • แยกประเภทค่าใช้จ่ายที่เป็น • ค่าใช้จ่ายที่ไม่ใช่ต้นทุน • ค่าใช้จ่ายส่วนกลาง • ค่าใช้จ่ายที่บันทึกผิดศูนย์ต้นทุน • ดึงข้อมูลต้นทุนที่แยกเข้าตามศูนย์ต้นทุนแล้วจากระบบ GFMIS มาคำนวณใน Excel • ดำเนินการคำนวณต้นทุน
ข้อมูลพื้นฐาน ระบุ ผลผลิต กิจกรรมหลัก และความเชื่อมโยง หมายเหตุ ตามเอกสารงบประมาณ รายชื่อกิจกรรมจะมีอยู่แล้วในระบบ GFMIS
ข้อมูลพื้นฐาน กำหนดหน่วยงานหลัก หน่วยงานสนับสนุน หมายเหตุ รายชื่อศูนย์ต้นทุนจะมีอยู่แล้วในระบบ GFMIS
การเรียกดูข้อมูลในระบบ GFMIS(หลังจากการปิดงวดครั้งสุดท้าย) • เลือก Transaction code : KSB1 กด Enter • เลือกจากเมนู
การกรอกข้อมูลเพื่อดูรายงานการกรอกข้อมูลเพื่อดูรายงาน
การปันส่วนต้นทุน ผลผลิต Cost จาก GL สำนัก กอง ศูนย์ กิจกรรม 4 หลัก 12 + 3 ค่าใช้จ่าย ทางตรง 100 กิจกรรม 1 ผลผลิต 1 หลัก 18 + 2 หลัก 17 + 3 3 กิจกรรม 2 หลัก 8 + 2 หลัก 15 + 5 ผลผลิต 2 หลัก 20 + 5 กิจกรรม 3 รวม 110 ค่าใช้จ่าย ทางอ้อม 30 สนับสนุน 6 + 4 กิจกรรม 4 ผลผลิต 3 2 1 สนับสนุน 4 + 6 รวม 20 กิจกรรม 5 รวมทั้งหมด 130 รวม 130
สรุปเกณฑ์ในการปันส่วนตามขั้นตอน 4 ขั้นตอน
เกณฑ์การปันส่วนค่าใช้จ่ายส่วนกลางเกณฑ์การปันส่วนค่าใช้จ่ายส่วนกลาง
เกณฑ์การปันส่วนต้นทุนหน่วยงานสนับสนุนเข้าสู่หน่วยงานหลักเกณฑ์การปันส่วนต้นทุนหน่วยงานสนับสนุนเข้าสู่หน่วยงานหลัก หมายเหตุ หน่วยงานสามารถใช้เกณฑ์เดิม หรือ ใช้วิธีหารเท่า ให้กับทุกหน่วยงานหลักเท่าๆ กัน
เกณฑ์การปันส่วนหน่วยงานหลักไปกิจกรรมเกณฑ์การปันส่วนหน่วยงานหลักไปกิจกรรม • ใช้เกณฑ์เดิม หรือ • ใช้สัดส่วนการใช้จ่ายเงินในงบประมาณของหน่วยงานหลักต่อกิจกรรม • ใช้คอลัมน์ ศูนย์ต้นทุน ส่วนประกอบต้นทุน กิจกรรม จำนวนเงิน • ตัดศูนย์ต้นทุนสนับสนุน และส่วนประกอบต้นทุนที่เป็นค่าใช้จ่ายส่วนกลางออก • หาสัดส่วนที่ศูนย์ต้นทุนหลักต่อกิจกรรม • ต.ย หน่วยงานหลักมีการใช้เงินงบประมาณ 935 ล้านบาท ประกอบด้วย 4 กิจกรรม กิจกรรมที่ 1 651 ล้านบาท เท่ากับ 70 % กิจกรรมที่ 2 37 ล้านบาท เท่ากับ 4 % กิจกรรมที่ 3 89 ล้านบาท เท่ากับ 9 % กิจกรรมที่ 4 158 ล้านบาท เท่ากับ 17 %
เกณฑ์การปันส่วนต้นทุนหน่วยงานหลักเข้าสู่กิจกรรมเกณฑ์การปันส่วนต้นทุนหน่วยงานหลักเข้าสู่กิจกรรม หมายเหตุ หน่วยงานสามารถใช้เกณฑ์เดิม หรือ จากสัดส่วนค่าใช้จ่ายเงินงบประมาณที่หน่วยงานใช้ไปในแต่ละกิจกรรม
เกณฑ์การปันส่วนกิจกรรมไปผลผลิตเกณฑ์การปันส่วนกิจกรรมไปผลผลิต • ใช้เกณฑ์เดิม หรือ • ใช้สัดส่วนงบประมาณ ตามเอกสารงบประมาณ • ต.ย ผลผลิตที่หนึ่ง 688 ล้านบาท ประกอบด้วย 2 กิจกรรม กิจกรรมที่ 1 651 ล้านบาท กิจกรรมที่ 2 37 ล้านบาท
เกณฑ์การปันส่วนต้นทุนกิจกรรมเข้าสู่ผลผลิตเกณฑ์การปันส่วนต้นทุนกิจกรรมเข้าสู่ผลผลิต หมายเหตุ ใช้หลักเกณฑ์เดิม หรือจากสัดส่วนงบประมาณ ตามเอกสารงบประมาณ
แยกประเภทค่าใช้จ่าย • แยกค่าใช้จ่ายที่ไม่ใช่ต้นทุนของหน่วยงานออกมา • ซึ่งอย่างน้อยต้องประกอบด้วยรายการต่อไปนี้ • ค่าบำเหน็จบำนาญ 5101030103, 5101030106, 5101030204, 5101030209-10, 5101030213-14, 5101030302, 5101030302, 5101040101 – 5101040207 • T/E ระหว่างหน่วยงาน 5210000000-5210010199 • พักหักล้างการโอนสินทรัพย์ 5212010103 • ปรับหมวดรายจ่าย 5301010101 • พักค่าใช้จ่าย-บัตรเครดิต 5301010102
แยกประเภทค่าใช้จ่าย • กำหนดค่าใช้จ่ายส่วนกลาง หรือโดยทั่วไปได้แก่ • ค่าสาธารณูปโภค 5104020000 – 5104020199 • หนี้สูญและสงสัยจะสูญ 5108000000 –5108010112 • ค่าตรวจสอบบัญชี 5110010101 –5110010102 • ค่าใช้จ่ายที่ยังไม่ระบุศูนย์ต้นทุนที่ถูกต้อง เช่น เงินเดือนจ่ายตรง ค่าเสื่อมราคา ค่าวัสดุใช้ไป
ระบุค่าใช้จ่ายที่ไม่ใช่ต้นทุน และค่าใช้จ่ายส่วนกลาง
การดำเนินการคำนวณต้นทุนการดำเนินการคำนวณต้นทุน • เลือกเฉพาะคอลัมน์ • ศูนย์ต้นทุน • ส่วนประกอบต้นทุน (รหัสบัญชี) • จำนวนเงิน • ลบคอลัมน์ที่ไม่เกี่ยวข้อง
ปันส่วนค่าใช้จ่ายส่วนกลางปันส่วนค่าใช้จ่ายส่วนกลาง • เรียงข้อมูลตามส่วนประกอบต้นทุน • ตัดรายการค่าใช้จ่ายที่ไม่ใช่ต้นทุน เพื่อใช้ในการหมายเหตุกระทบยอดไปยังยอดรวมค่าใช้จ่ายในงบรายได้และค่าใช้จ่าย • ตัดรายการที่เป็นค่าใช้จ่ายส่วนกลางไปสมุดงานใหม่ • รวมจำนวนเงินสำหรับค่าใช้จ่ายส่วนกลาง • ปันส่วนจำนวนเงินของกค่าใช้จ่ายส่วนกลางตามเกณฑ์ที่ตกลง ศูนย์ต้นทุนหลัก ค่าใช้ส่วนกลาง ศูนย์ต้นทุน สนับสนุน
ปันค่าใช้จ่ายส่วนกลางปันค่าใช้จ่ายส่วนกลาง
ปันค่าใช้จ่ายหน่วยงานสนับสนุนปันค่าใช้จ่ายหน่วยงานสนับสนุน • เรียงข้อมูลตามศูนย์ต้นทุน • เลือกและตัดรายการของศูนย์ต้นทุนสนับสนุนที่ไปสมุดงานใหม่ • รวมจำนวนเงินสำหรับแต่ละศูนย์ต้นทุนสนับสนุน • ปันส่วนไปยังศูนย์ต้นทุนหลัก ศูนย์ต้นทุน สนับสนุน ศูนย์ต้นทุนหลัก