1 / 39

การพัฒนาคุณภาพฟิล์ม Portable

การพัฒนาคุณภาพฟิล์ม Portable. กลุ่มงานรังสีวิทยา. รังสีสัมพันธ์ ร่วมกันพัฒนา. มุ่งเน้นสร้างสรรค์ร่วมกันพัฒนา. จำนวนสมาชิก. พญ.ปริยานุช. ที่ปรึกษากลุ่ม. หัวหน้ากลุ่ม. นิมิตร์. รองหัวหน้ากลุ่ม. เลขานุการกลุ่ม. ศศิวิมล. วิยดา. มาโนช. แนน. สมาชิก. รุ่งอรุณ. เก่งกล้า.

Download Presentation

การพัฒนาคุณภาพฟิล์ม Portable

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาคุณภาพฟิล์ม Portable กลุ่มงานรังสีวิทยา

  2. รังสีสัมพันธ์ ร่วมกันพัฒนา มุ่งเน้นสร้างสรรค์ร่วมกันพัฒนา

  3. จำนวนสมาชิก พญ.ปริยานุช ที่ปรึกษากลุ่ม หัวหน้ากลุ่ม นิมิตร์ รองหัวหน้ากลุ่ม เลขานุการกลุ่ม ศศิวิมล วิยดา มาโนช แนน สมาชิก รุ่งอรุณ เก่งกล้า อารมณ์ ทวีป พรทิพย์ ประจวบ นิตยา

  4. สาเหตุและแรงจูงใจ 1. รังสีแพทย์ประเมินว่าฟิล์มPortableไม่ได้คุณภาพ 2. ปริมาณฟิล์มเสียจากการถ่ายฟิล์มซ้ำมีปริมาณมาก 3. เพื่อพัฒนางานด้านรังสีให้มีคุณภาพอย่างเต็มที่ 4. ได้ข้อคิดจากผลงาน CQI โรงพยาบาลศิริราช 5. ลดค่าใช้จ่ายและการได้รับปริมาณรังสีเกินความจำเป็น

  5. ข้อมูลคุณภาพฟิล์มตึกICUก่อนการแก้ปัญหา(ม.ค.-มี.ค.2551) รวม 64 ครั้ง

  6. ข้อมูลคุณภาพฟิล์มตึกICUก่อนการแก้ปัญหา(ม.ค.-มี.ค.2551) รวม 64 ครั้ง

  7. กราฟแสดงปริมาณคุณภาพฟิล์มตึกICU ก่อนแก้ปัญหา(ม.ค.-มี.ค.2551)

  8. ข้อมูลคุณภาพฟิล์มตึกNICU ก่อนการแก้ปัญหา (ม.ค.-มี.ค.2551) รวม 48 ครั้ง

  9. ข้อมูลคุณภาพฟิล์มตึกNICU ก่อนการแก้ปัญหา (ม.ค.-มี.ค.2551) รวม 48 ครั้ง

  10. กราฟแสดงปริมาณคุณภาพฟิล์มตึกNICU ก่อนแก้ปัญหา(ม.ค.-มี.ค.2551)

  11. เป้าหมาย ได้ภาพเอกซเรย์เคลื่อนที่ (Portable) ที่มีคุณภาพในระดับดี >80% (โดยมีปัจจัยจากสภาพผู้ป่วยที่ควบคุมไม่ได้ประมาณ 20%)

  12. ตารางแผนงานขั้นแรก 1 1 1 1 1 2 3 4 2 3 4 2 3 4 2 3 4 2 3 4 แผน ปฏิบัติจริง

  13. วิเคราะห์ปัญหา Positionไม่ครอบคลุม มีอุปกรณ์อื่นมาบัง ขาดความรอบคอบในการจัดท่าผู้ป่วย ไม่รอบคอบในการดูอุปกรณ์ที่บังขณะเอกซเรย์ ฟิล์มมีคุณภาพน้อย ระยะหลอดเอกซเรย์กับผู้ป่วย ไม่เท่ากัน ไม่ได้ดูค่าexposureจากฟิล์มเก่า สร้างอุปกรณ์ที่สะดวกในการวัด มีรอยที่ฟิล์ม มี Artifact ค่าexposure ต่างกัน

  14. วิเคราะห์ปัญหา ฟิล์มเอกซเรย์ขาว/ดำเกินไป ไม่ได้ใช้สูตรในการคำนวณหาค่า Exposure จากความหนาของ ผู้ป่วยทุกราย ฟิล์มมีคุณภาพน้อย ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว ขาดการสังเกตจังหวะผู้ป่วยหายใจ ผู้ป่วยดิ้น ไม่มีอุปกรณ์ช่วยยึดจับผู้ป่วย ผู้ป่วยหายใจเข้าไม่เต็มที่ Position เอียง

  15. ตารางวางแผนปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาตารางวางแผนปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหา

  16. ตารางวางแผนปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาตารางวางแผนปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหา

  17. ตารางวางแผนปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาตารางวางแผนปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหา

  18. ข้อมูลคุณภาพฟิล์มตึกICUหลังการแก้ปัญหาช่วงแรก (ก.ค.- ต.ค.2551) รวม 29 ครั้ง

  19. ข้อมูลคุณภาพฟิล์มตึกICUหลังการแก้ปัญหาช่วงแรก (ก.ค.-ต.ค.2551) รวม 29 ครั้ง

  20. ข้อมูลคุณภาพฟิล์มตึกNICUหลังการแก้ปัญหาช่วงแรก (ก.ค.- ต.ค.2551) รวม 34 ครั้ง

  21. ข้อมูลคุณภาพฟิล์มตึกNICUหลังการแก้ปัญหาช่วงแรก (ก.ค.- ต.ค.2551) รวม 34 ครั้ง

  22. วิเคราะห์ปัญหาในการทำงาน (After Action Review ) เนื่องจากผลไม่ได้ตามเป้าหมาย(80%)ที่กำหนด กลุ่มงานรังสีร่วมกับเจ้าหน้าที่ตึก ICUและNICUจึงร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาและสรุปได้ดังนี้ 1. สภาพความหนาของผู้ป่วยเปลี่ยนแปลงไปแต่เจ้าหน้าที่ยังดูค่า Exposureเดิม การแก้ไข ต้องวัดความหนาผู้ป่วยก่อนทุกครั้งแม้เป็นคนเดิม 2. บุคลากรยังไม่ปฏิบัติในแนวทางที่กำหนด การแก้ไข ทบทวนแนวทางปฏิบัติในตารางเดิม ควรมีเจ้าหน้าที่ไปเอกซเรย์ 2 คน เพื่อเป็นการตรวจสอบเจ้าหน้าที่อีกคนว่าทำตามมาตรฐานหรือไม่ (Double check)

  23. วิเคราะห์ปัญหาในการทำงาน (after action review ) 3. การใช้อุปกรณ์ยึดจับผู้ป่วยไม่ได้ผลเนื่องจาก 3.1 ใช้ไม่สะดวก เพราะผู้ป่วยตึก ICU,NICU มักมีเครื่องมือช่วยชีวิตติดอยู่กับตัว ผู้ป่วยเยอะมากไป ถ้านำอุปกรณ์ไปรัด จะทำให้เครื่องมือช่วยชีวิตหลุดหรือติดเชื้อได้ 3.2 อุปกรณ์ยึดจับผู้ป่วยมีเพียงอันเดียวและยากต่อการทำความสะอาด 3.3 กรณีคนไข้ ICU ส่วนมากจะไม่รู้สึกตัวและไม่ขยับเขยื้อน 3.4 ใช้เวลาในการเอกซเรย์นานกว่าเอกซเรย์ทั่วไป สรุป เลิกใช้อุปกรณ์ยึดจับ แต่ให้เจ้าหน้าที่ขึ้นไปเอกซเรย์ 2 คน 4. จำนวนการถ่าย Portableเอกซเรย์น้อยลง จึงไม่เพียงพอในการเปรียบเทียบ การแก้ไข เก็บข้อมูลเพิ่ม

  24. ต่อไป…คือการเก็บข้อมูลช่วงหลัง ทบทวนแก้ไขปัญหา ช่วงข้อมูลเดือนมกราคม-สิงหาคม 2552

  25. ตารางแผนงาน 1 1 1 1 1 2 3 4 2 3 4 2 3 4 2 3 4 2 3 4 แผน ปฏิบัติจริง

  26. ตารางแผนงาน 1 1 1 1 2 3 4 2 3 4 4 2 3 4 2 3 แผน ปฏิบัติจริง

  27. สรุปผล การเก็บข้อมูลพัฒนาคุณภาพฟิล์ม Portable ตึกICU และ NICU ได้ตามเป้าหมาย (เป้า > 80 %) ที่กำหนดไว้ดังนี้ ตึก ICUได้ฟิล์มมีคุณภาพดี 80.19 % ตึก NICUได้ฟิล์มมีคุณภาพดี 82.44 %

  28. ข้อมูลคุณภาพฟิล์มตึกICUหลังการแก้ปัญหา (ม.ค.-ส.ค.2552) รวม 207 ครั้ง

  29. ข้อมูลคุณภาพฟิล์มตึกICUหลังการแก้ปัญหา (ม.ค.-ส.ค.2552) รวม 207 ครั้ง

  30. กราฟแสดงคุณภาพฟิล์มตึกICUหลังการแก้ปัญหา (ม.ค.-ส.ค.2552)

  31. ข้อมูลคุณภาพฟิล์มตึกNICU หลังการแก้ปัญหา(ม.ค.-ส.ค.52) รวม 74 ครั้ง

  32. ข้อมูลคุณภาพฟิล์มตึกNICUหลังการแก้ปัญหา (ม.ค.-ส.ค.2552) รวม 74 ครั้ง

  33. กราฟแสดงคุณภาพฟิล์มตึก NICUหลังการแก้ปัญหา (ม.ค.-ส.ค.2552) รวม 74 ครั้ง

  34. ตั้งมาตรฐานและพฤติกรรมการไปเอกซเรย์ Portable ผู้ป่วยตึก ICU และ NICU 1. สวัสดีครับ / ค่ะ กับเจ้าหน้าที่ตึก 2. แนะนำตัวเองว่าจะมาเอกซเรย์ และสอบถามเจ้าหน้าที่ว่าเอกซเรย์เตียงไหนครับ / ค่ะ 3. ตรวจดูฟิล์มเก่าเพื่อดูค่า Exposure ก่อน(ในกรณีที่เคยเอกซเรย์) พร้อมกับ ใบสั่งเอกซเรย์ 4. แจ้งผู้ป่วยว่าจะเอกซเรย์ส่วนใดพร้อมกับขอความร่วมมือ (กรณีผู้ป่วยรู้ตัว) ในการจัด Position 5. ตรวจดูอุปกรณ์ที่จะมาบังส่วนที่จะเอกซเรย์ พร้อมทั้งเคลื่อนย้ายอุปกรณ์นั้นให้พ้น ส่วนที่จะเอกซเรย์

  35. ตั้งมาตรฐานและพฤติกรรมการไปเอกซเรย์ Portable ผู้ป่วยตึก ICU และ NICU 6. วัดขนาดตัวผู้ป่วยและคำนวณค่า Exposure ตามสูตร 7. วัดระยะของหลอดเอกซเรย์ถึงฟิล์ม (ตามมาตรฐาน) ด้วยอุปกรณ์ 8. แจ้งเจ้าหน้าที่ตึกก่อนทำการเอกซเรย์ เพื่อหลีกเลี่ยงบริเวณที่มีรังสี (ต้องอยู่ห่างอย่างน้อย 2 เมตร) 9. เมื่อเอกซเรย์เสร็จแล้ว แจ้งเจ้าหน้าที่ตึกให้มาดูความเรียบร้อยของผู้ป่วยอีกครั้ง แล้วกล่าวคำลา.. หมายเหตุ ข้อ 1,2,8,9 เป็นพฤติกรรมการบริการที่มีอยู่เดิม

  36. After Action Review ผลได้ตามเป้าหมาย:เจ้าหน้าที่ส่วนใหญ่ปฏิบัติตามแนวทางเดียวกัน อุปสรรค: 1. เจ้าหน้าที่บางคนไม่ดูค่า Exposure เก่าของผู้ป่วยและไม่วัดความหนาของตัวผู้ป่วยเพื่อคำนวณค่า Exposure 2. บางครั้งเมื่อเร่งรีบไม่วัดระยะของหลอดเอกซเรย์ถึงฟิล์มให้ได้มาตรฐานเท่ากับ 40 นิ้ว 3. ขาดความรอบคอบในการจัดท่าผู้ป่วย 4. ในช่วงที่มีเอกซเรย์ Portable หลายๆกันตึกในเวลาเดียวกันทำให้เจ้าหน้าที่ต้องแบ่งทีมทำงาน ไปเอกซเรย์เพียงลำพัง หรือในช่วงที่มีการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่ การปรับปรุง:ทุกเดือนมีการประชุมวิเคราะห์ถึงปัญหาและแนวทางแก้ไข

  37. แผนการติดตามผล ทางกลุ่มงานจะเก็บรวบรวมข้อมูลทุก 2 เดือนถ้าคุณภาพระดับดีลด <80% จะดำเนินการวิเคราะห์และแก้ไขอีก

  38. แผนในอนาคต • กลุ่มงานจะพัฒนาคุณภาพฟิล์ม Portable ของตึกอื่นๆให้มีคุณภาพดีตามแนวปฏิบัติเดียวกับตึก ICU และ NICU

  39. THE END

More Related