140 likes | 283 Views
WHO : 9 Voluntary Global NCD Targets for 2025. การจัดทำกลยุทธ์สร้างนโยบายสาธารณะระดับ ชุมชน โรงเรียน องค์กร ที่สร้างสภาพแวดล้อมสําหรับปรับพฤติกรรม. Where to go ?. 9 เป้าหมาย NCDs : 2025. ภายใน 8 ปี. ลดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 10 %. ลดการบริโภคยาสูบ 30 %. ลดภาวะ
E N D
WHO : 9 Voluntary Global NCD Targets for 2025 การจัดทำกลยุทธ์สร้างนโยบายสาธารณะระดับชุมชน โรงเรียน องค์กร ที่สร้างสภาพแวดล้อมสําหรับปรับพฤติกรรม Where to go ? 9 เป้าหมาย NCDs: 2025 ภายใน 8 ปี • ลดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 10 % • ลดการบริโภคยาสูบ 30 % • ลดภาวะ • ความดันโลหิตสูง • 25 % • ผู้ที่เสี่ยงสูงต่อ CVD ได้รับยาและคำปรึกษา 50% ลดตาย ก่อนวัยอันควรจากโรค NCDs 25% • ลดการขาดกิจกรรม • ทางกาย • 10 % • ลดการบริโภคเกลือ/โซเดียม 30% • ภาวะเบาหวานและอ้วนไม่ให้เพิ่ม • ยาและเทคโนโลยีที่จำเป็นครอบคลุม 80% ที่มา: http://www.who.int/nmh/ncd-tools/definition-targets/en/ 3 สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
Where we are? สถานการณ์สุขภาพ หวานจัง สะเทือนไต ผู้ป่วยโรคเบาหวานกว่า 4 ล้านคน อีก 7.7 ล้านคน เสี่ยงเบาหวานในอนาคต* อันดับ 3 ของอาเซียน** ที่มา : *สำนักงานกองทุนสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพ (26 ก.ค. 2559) **สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังประมาณ 8 ล้านคน เพิ่มขึ้นปีละ 7,800 ราย อันดับ 3 ของอาเซียน ที่มา : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพ (18 มี.ค. 2559) อ้วนจริง คนไทยมีภาวะอ้วนลงพุง 19 ล้านคน อันดับ 2 ของอาเซียน ที่มา : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพ (26 ก.ค. 2559) ;bltbangkok (24 พ.ค. 2560) สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
การจัดการปัญหาโรค NCDs ในประเทศไทย Where we are? ระบบรักษา โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด ค่าใช้จ่ายการรักษา 335,359 ล้านบาท/ปี =2.94% GDP* =18,376 บาท/คน/ปี โรคความดันโลหิตสูง โรคมะเร็ง โรค NCDs อื่น โรคถุงลมโป่งพอง ระบบป้องกัน Best buy Intervention ค่าใช้จ่าย 12 บาท/คน/ปี** ปรับลดหวาน มัน เค็ม ที่มา: *การทบทวนวรรณกรรม : สถานการณ์ปัจจุบันและรูปแบบการบริการด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง, 2557 ** รายงานสถานการณ์โรค NCDs, 2557 งดดื่มสุรา/สูบบุหรี่ การออกกำลังกาย อ่านฉลากโภชนาการ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ถึงเวลาที่เราต้องรดน้ำที่รากแล้วหรือยัง ? อาหาร เป็น 50% ของสาเหตุการเกิด NCDs อาหารลดหวาน มัน เค็ม ระบบป้องกัน งดดื่มสุรา/สูบบุหรี่ การออกกำลังกาย อ่านฉลากโภชนาการ ค่าใช้จ่าย 12 บาท/คน/ปี** • ลดภาวะ • ความดันโลหิตสูง • 25 % • ภาวะเบาหวานและอ้วนไม่ให้เพิ่ม • ลดการบริโภคเกลือ/โซเดียม 30% เป้าหมาย NCDs ปี 2025 ภายใน 8 ปีเราจะจัดการได้ทันจริงหรือ ? Healthy people สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
กลไกการขับเคลื่อน อาหารปรับสูตร (Reformulated foods) การสื่อสารประชาสัมพันธ์ (Communication) เครื่องมือ: ฉลาก (Tools) Healthier Food to Healthier Life
วิวัฒนาการฉลากโภชนาการวิวัฒนาการฉลากโภชนาการ Informative nutrition labeling ข้อมูลโภชนาการแบบเต็ม Informative nutrition labeling ข้อมูลโภชนาการแบบย่อ GDA ความละเอียด ความง่ายต่อการเข้าใจ 1 2 3 Presumptive/Interpretation nutrition labeling ตราสัญลักษณ์
การพัฒนาและส่งเสริมการใช้สัญลักษณ์โภชนาการอย่างง่ายการพัฒนาและส่งเสริมการใช้สัญลักษณ์โภชนาการอย่างง่าย เพื่อผู้บริโภค ความสำคัญ เป้าหมาย ผู้บริโภคมีเครื่องมืออย่างง่าย ในการตัดสินใจเลือกซื้อ อาหารเพื่อสุขภาพ (Simplified Logo) ปัญหาภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนในประชาชนไทยมีเพิ่มมากขึ้น ปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มี สาเหตุมาจากการบริโภคอาหาร ภาคอุตสาหกรรมและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ตระหนักถึงการ พัฒนาสูตรอาหาร ลดหวาน มัน เค็ม ฉลากโภชนาการที่มีในปัจจุบัน ยากต่อการตัดสินใจของผู้บริโภค
กลไกการขับเคลื่อนสัญลักษณ์โภชนาการ 2.2 เป้าหมาย นโยบายลดหวาน มัน เค็ม ฉลากโภชนาการอย่างง่าย • ผู้บริโภคเลือกซื้ออาหารเพื่อสุขภาพ • ภาคอุตสาหกรรมปรับสูตรอาหารลดหวาน มัน เค็ม ประชาสัมพันธ์ Logo สู่ผู้บริโภค ผลลัพธ์ • Nutrient Profile • Simplified Logo • กำหนดมาตรฐาน • ลดหวาน มัน เค็ม การขับเคลื่อนผู้บริโภค ผู้บริโภคลดการบริโภคอาหาร หวาน มัน เค็ม เครือข่ายและ Scientific Experts • การตรวจสอบรับรอง • ติดตาม ตรวจสอบฉลากในท้องตลาด • ขับเคลื่อนฉลากโภชนาการอย่างง่ายสู่การปฏิบัติ ประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้รับ • สร้างความรู้ความตระหนัก • และเผยแพร่สู่ผู้บริโภค หน่วยรับรอง ออกมาตรฐาน/รับรอง - ลดภาระค่า รักษาพยาบาล - ประชาชน สุขภาพดี Stakeholder กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข สถาบันโภชนาการ ม.มหิดล กรมควบคุมโรค อย. สภาอุตสาหกรรม สมาคม โภชนาการ
ประโยชน์ของฉลากและสัญลักษณ์โภชนาการประโยชน์ของฉลากและสัญลักษณ์โภชนาการ ข้อมูลในการเลือกซื้อ การพัฒนาและปรับปรุงผลิตภัณฑ์ ผู้ประกอบการ ผู้บริโภค ฉลากและสัญลักษณ์โภชนาการ หน่วยงานวิจัย/ สถานศึกษา เจ้าหน้าที่ ศึกษาวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ มีแนวทางในการปฏิบัติ/ตรวจสอบ เป้าหมาย ลดหวาน มัน เค็ม
กลไกการขับเคลื่อน Healthy diet สู่ Healthy People อย. ในฐานะเลขานุการร่วมของคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ กลไกชุมชนเพื่อการปรับพฤติกรรม ลดการบริโภคหวาน มัน เค็ม แก้ปัญหาโรคอ้วน/NCDs 1. โรงเรียน 2. ตำบล / ศูนย์เด็กเล็ก 3. สถานที่ทำงาน (รัฐ/เอกชน) Area Base
“ เป้าหมาย..... ชุมชนจะเข้มแข็ง สามารถจัดการตนเองในการบริโภค อาหารเพื่อสุขภาพ และ ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs ได้อย่างยั่งยืน” สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา