1 / 16

วัณโรค (Tuberculosis/ TB)

วัณโรค (Tuberculosis/ TB). ระบาดวิทยา มีการระบาดทั่วโลก animal production public health

kasi
Download Presentation

วัณโรค (Tuberculosis/ TB)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วัณโรค (Tuberculosis/ TB) ระบาดวิทยา • มีการระบาดทั่วโลก animal production • public health • ปี 1916 ใน USA รายงานว่า 0.53% ของโคที่มีการตรวจเนื้อ พบวิการของวัณโรค ซึ่งต้องสั่งทำลายซาก ในขณะที่ปี 1991 พบว่า 0.0005%เท่านั้นที่ถูกสั่งทำลายซาก ความสำเร็จในการควบคุมโรคเนื่องจากนโยบาย test and slaughter • ประเทศไทยมีรายงานการตรวจโรค (skin test) ในโคนม 35281 ตัวพบโรค 251 ตัว คิดเป็น 0.71% (BTP project, 2545) โรควัณโรค

  2. พบการระบาดของโรคในคนและ สัตว์เศรษฐกิจนอกจากนี้อาจพบในสัตว์อื่น เช่น กวาง อูฐ และสัตว์ประเภทกีบคู่อื่นๆ, สัตว์ประเภทฟันแทะ, ช้าง, ยีราฟ, สัตว์ป่าโดยเฉพาะสัตว์ประเภทเดียวกับแมว จัดเป็น reservoir host ที่สำคัญของเชื้อวัณโรคในโค เนื่องจากมีการนำน้ำนมดิบของโคมาใช้เลี้ยงแมวกันมาก (ในประเทศกำลังพัฒนา) และแมวมีนิสัยชอบจับสัตว์อื่นกินเป็นอาหารด้วย โรควัณโรค

  3. สาเหตุ-เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชื่อMycobacterium spp. ชนิดที่สำคัญในปศุสัตว์คือ สุกร, โคM. bovis สุกร, ไก่ M. avium คน ***M. tuberculosis M. bovis • Mycobacterium = slow growing bacteria, acid-fast bacilli • เชื้อทนต่อความร้อน, ความแห้งแล้ง และ disinfectant โรควัณโรค

  4. การติดต่อ • การติดต่อเกิดจาก • 1.การหายใจ การติดโรคผันแปรมาก • 2. การกิน*ส่วนมากสัตว์ติดโดยวิธีนี้ • สัตว์มักติดจาก • Contaminated pasture อาหาร และน้ำดื่ม • นมจากแม่สัตว์ที่มีเชื้อ • การใช้อุปกรณ์เครื่องมือเพื่อการสุขาภิบาลสัตว์ เช่น ปรอทวัดไข้* กรง หน้ากาก เป็นต้น โรควัณโรค

  5. การติดต่อ โดยเฉพาะการอยู่กันอย่างหนาแน่นเกินไป, poor ventilation เป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญที่ทำให้มีการระบาดของโรคได้ดียิ่งขึ้น โรควัณโรค

  6. คน ติด M. bovis จากสัตว์โดย การดื่มนมหรือผลิตภัณฑ์จากนมโคที่ไม่ผ่านขบวนการฆ่าเชื้อ เช่น pasteurization หรือ sterilization(แต่คนป่วยเป็นวัณโรคจากเชื้อ M. tuberculosis มากกว่า M.bovis) สุกรติดเชื้อจากการกินอาหารที่มีการปนเปื้อนของเชื้อ M. tuberculosis จากผู้เลี้ยงที่ป่วย และมีความไวที่สุด ต่อการติด M.bovis (มากกว่าโค) No pasturization โรควัณโรค

  7. อาการและวิการ อาการของโรคผันแปรมากขึ้นกับชนิดของเชื้อและวิธีการที่ได้รับเชื้อ และระยะเวลาที่เกิดโรค โดยปกติโคจะไวต่อการติดเชื้อ M. bovisซึ่งจะทำให้เกิดการติดเชื้อทั้งในระบบหายใจและระบบทางเดินอาหารและต่อมน้ำเหลืองในบริเวณใกล้เคียง โดยจะพบลักษณะฝีเป็นหนองข้นคล้ายเนยและมีการสะสมของแคลเซี่ยมร่วมด้วย โรควัณโรค

  8. อาการและวิการ (ต่อ) โดยทั่วไป สัตว์จะแสดงอาการผอมลงเรื่อย ขนหยาบ ผลผลิตลดลง ท้องเสีย (ถ้ามีการติดเชื้อในทางเดินอาหาร) ในโค ส่วนใหญ่จะพบวิการดังกล่าวที่ต่อมน้ำเหลืองบริเวณปอดมากกว่าที่เนื้อปอด และพบที่ต่อมน้ำเหลืองในช่องท้อง โรควัณโรค

  9. ความอ้วนหรือผอมของสัตว์ป่วยขึ้นกับว่าสภาพการเลี้ยงดูให้อาหารดีหรือไม่ และสัตว์ป่วยนั้นอยู่ในระยะไหน ซึ่งระยะท้ายๆ สัตว์จะผอมลง อาการท้องเสียจะพบได้หากมีรอยโรคที่ลำไส้ ซึ่งต้องมีการวินิจฉัยแยกจากโรคท้องร่วงเรื้อรัง (Para TB)

  10. วิการ เกิดการอักเสบเป็นฝีขนาดใหญ่ที่ต่อมน้ำเหลืองที่ขั้วปอด โรควัณโรค

  11. วิการ เป็นฝีในเนื้อปอด นอกจากนี้ยังอาจพบฝีที่ต่อมน้ำเหลืองอื่นๆ ในร่างกาย เส้นน้ำเหลือง รวมทั้งไขกระดูกด้วย โรควัณโรค

  12. การวินิจฉัยโรค 1. โดย screening test ในคน ภาพถ่าย x-ray ปอด,ย้อมดู acid fast bacilli ในเสมหะ ในสัตว์ (esp โคนม) intradermal tuberculin test โดยเฉพาะเมื่อนำสัตว์ใหม่มาเข้าฝูงและทำติดต่อกันทุกปี อย่างน้อย 3 ปี • ส่วนใหญ่แล้วสัตว์จะไม่ค่อยมีอาการให้สังเกตเห็นได้ชัดและมักพบโรคจากการทำ TB test หรือโดยบังเอิญการผ่าซาก โรควัณโรค

  13. การฉีด Tuberculin antigen 0.1 cc. เข้าที่โคนหาง ในชั้นผิวหนัง ซึ่งวิธีนี้เรียกว่า Single Intradermal test แล้ววัดความบวมของผิวหนังหลังฉีด 72 ชั่วโมง ด้วย Caliper ถ้าบวมมากกว่า 5 mm. และสัมผัสพบว่า ร้อน (แดง) แข็งเป็นไต แสดงว่าสัตว์เป็นโรคและมักมีไข้ต่ำๆ ร่วมด้วย สัตว์ที่พบปฏิกริยาต่อ TB test จรั้งแรก ต้องทำการตรวจยืนยันผลซ้ำ โรควัณโรค

  14. Stormont test การฉีด TB antigen ซ้ำที่แผงคอ เพื่อเป็นการยืนยันผล skin test ครั้งแรก 60 วัน โรควัณโรค

  15. การรักษา • ไม่รักษาสัตว์ที่เป็นโรคนี้ในสัตว์ เนื่องจาก เชื้อชนิดนี้มีกลไกการเกิดโรคที่ทำลายด้วยยาปฏิชีวนะทั่วไปไม่ได้ (intracellular characteristic) ยาที่ใช้ได้ผลจึงมีราคาแพงและจะต้องใช้เวลารักษานานมาก รักษาไปก็ไม่คุ้ม โรควัณโรค

  16. การควบคุมและป้องกันโรคการควบคุมและป้องกันโรค • 1.ป้องกันการแพร่ของเชื้อออกสู่ภายนอก • - เลี้ยงโคในบริเวณที่จำกัด มีรั้ว • - Pasteurize น้ำนมที่บริโภค • 2. ตรวจสัตว์ก่อนซื้อเข้ามาในฝูงและกำจัดสัตว์เป็นโรคออกจากฝูง สัตว์ที่ตายต้องทำลายด้วยการเผาเท่านั้น Pasteurized โรควัณโรค

More Related