E N D
การบริหารความเสี่ยง (RISK MANAGEMENT) โดยโยธินมานะบุญรบ., บธ.ม. (การจัดการ) กรรมการผู้จัดการ/ผู้อำนวยการฝ่ายพัฒนากลยุทธ์ บริษัท TPC NETWORK จำกัด ที่ปรึกษา /วิทยากรที่ปรึกษา บริษัท SMEs DEVELOPMENT AND CONSULTANT จำกัด ที่ปรึกษาธุรกิจ สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (ISMED)E-mail: yothinma@yahoo.com โทร: 06-6074546 02-9756175 โทรสาร: 02-5984711 TPC NETWORK
ความเสี่ยง (RISK)หมายถึง สิ่งต่างๆที่สามารถก่อให้เกิดปัญหา/อุปสรรคต่อการปฏิบัติงาน อันจะส่งผลให้เป้าประสงค์เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ไม่พึงประสงค์จนกระทั่งไม่สามารถบรรลุได้ ไม่มีความแน่นอน และอาจเกิดขึ้นได้ทุกเวลา นิยามตาม AS / NZS 4360 Standard “ โอกาสของบางสิ่ง หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น แล้วส่งผลกระทบต่อวัตถุประสงค์ / เป้าหมาย โดยวัดจาก ผลกระทบ และโอกาสที่จะเกิด ” TPC NETWORK
ประเภทของความเสี่ยง1. ทางการเงิน (FINANCIAL RISK) 2. ทางการปฏิบัติงาน (OPERATION RISK) หมายรวมถึงตัวบุคลากร 3. ทางนโยบาย/กลยุทธ์ (POLICY/STRATEGIC RISK) 4. ทางกฎระเบียบ (REGULATORY RISK) 5. ทางเศรษฐกิจ/การเมือง (ECONOMIC/POLITICAL RISK) 6. ทางธรรมชาติ (NATURAL EVENTS) TPC NETWORK
การบริหารความเสี่ยง: รับมือการเปลี่ยนแปลง การบริหารความเสี่ยง(Risk Management)เป็นการจัดการกับผลกระทบต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับองค์การ รวมถึงการวางระบบ/ กลยุทธ์ในการรับมือกับความเสี่ยง หรือผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นได้ทุกรูปแบบอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล TPC NETWORK
ขั้นตอนการบริหารความเสี่ยงขั้นตอนการบริหารความเสี่ยง • การกำหนดเป้าประสงค์ (Objectives Establishment) • การกำหนด/ระบุความเสี่ยง (Risk Identification) • การจัดระดับความเสี่ยง (Risk Score) • การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) • การประเมินผลกระทบ (Impact Assessment) • การประเมินมาตรการควบควบคุม (Control Assessment) • การวางแผนการบริหารความเสี่ยง • (Risk Management Planning) • 5. การติดตามตรวจสอบและติดตามประเมินผล (Monitoring&Evaluation) TPC NETWORK
การจัดระดับความเสี่ยงการจัดระดับความเสี่ยง TPC NETWORK A โอกาสที่เกิดขึ้นแล้วสร้างความเสียหาย ระยะสั้น ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นขององค์กร มองเห็นเป็นรูปธรรมชัดเจน สร้างความเสียหายต่อชื่อเสียง ต้องแก้ไขโดยเร่งด่วน และ อาจจะเกิดขึ้นบ่อยๆ B โอกาสที่เกิดขึ้นแล้วสร้างความเสียหาย ระยะสั้น ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นขององค์กร มองเห็นเป็นรูปธรรมชัดเจน สร้างความเสียหายต่อชื่อเสียง แต่อาจเกิดไม่บ่อย รุนแรง/ เสียหาย มาก C โอกาสที่เกิดขึ้นแล้วส่งผลในระยะยาว ความเสียหายอาจจะไม่รุนแรงในระยะต้น แต่ส่งผลในทางลบหรือเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนา ในอนาคต และอาจเกิดขึ้นบ่อย D โอกาสที่เกิดขึ้นแล้วส่งผลในระยะยาว ความเสียหายอาจจะไม่ชัดเจน แต่ส่งผลในทางลบหรือ เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาในอนาคต และอาจเกิดไม่บ่อย รุนแรง/ เสียหาย น้อย โอกาสที่จะเกิดขึ้นสูง (1) โอกาสที่จะเกิดขึ้นต่ำ (2)
TPC NETWORK การประเมินความเสี่ยง ความรุนแรงของผลกระทบ (Consequence ) และ การประเมินความเป็นไปได้ของโอกาสที่จะเกิด (Likelihood) ในรูปของความถี่(Frequency) สมดุล (BALANCE) ระดับความเข้มข้นของการควบคุม/การตรวจสอบ (Internal Control)
ความเสี่ยงจาก การดำเนินงาน มาตรการ ควบคุม มาตรการ ควบคุม มาตรการควบคุม ที่มีประสิทธิผล การจัดทำแผนการบริหารความเสี่ยง ความเสี่ยง คงเหลือ แผนการ บริหาร ความเสี่ยง ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ระดับความเสี่ยง ที่ยอมรับได้ TPC NETWORK
การจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงโดยการคำนวณค่าความเสี่ยงคงเหลือความเสี่ยงคงเหลือ = ระดับความเสี่ยง – ระดับการควบคุม - ระบุกลยุทธ์/วิธีการ มาตรการที่เป็นทางเลือกในการลดหรือกำจัดความเสี่ยง พร้อมกับการศึกษาความเป็นไปได้- เลือกวิธีการที่ดีที่สุด กำหนดผู้รับผิดชอบ ระยะเวลา เพื่อกำหนด แผนปฏิบัติการ (Action Plan) TPC NETWORK
การวางแผนบริหารความเสี่ยงการวางแผนบริหารความเสี่ยง 1.Take/Acceptance การยอมรับความเสี่ยง - ไม่ต้องดำเนินการอะไรทั้งสิ้น 2.Treat/Control การลด/ควบคุมความเสี่ยง - ปรับปรุงแก้ไขกระบวนงาน - จัดทำแผนปฏิบัติการรองรับ 3.Terminate/Avoid การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง - จ้างเอกชนที่เชี่ยวชาญมาทำแทน 4.Transfer การกระจาย/โอนความเสี่ยง - เปลี่ยนเป้าประสงค์ - หยุดการดำเนินกิจกรรม – การบูรณาการ 5. Exploitการใช้ประโยชน์จากความเสี่ยง - กำหนดกลยุทธ์ใหม่ TPC NETWORK
การวิเคราะห์ความเสี่ยงการวิเคราะห์ความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง ความเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง มาตรการควบคุมความเสี่ยง การวิเคราะห์และจัดการความเสี่ยงด้านการบริหาร 1. แผนกลยุทธ์ไม่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ และ/หรือวัตถุประสงค์ขององค์กร 2. การดำเนินงานของหน่วยงาน ไม่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ และ/หรือวัตถุประสงค์ขององค์กร 3. แผนปฏิบัติการไม่ชัดเจน • การกระจายแผนกลยุทธ์ • ไปสู่แผนปฏิบัติไม่ครบถ้วน • ไม่มีการกำกับ ติดตาม • และประเมินผลการปฏิบัติงาน • การมอบหมายงานไม่ตรง • กับหน่วยงานที่รับผิดชอบ • แผนกลยุทธ์ไม่สามารถนำไปใช้ได้ • ในทางปฏิบัติ • เนื่องจากการวางแผนยากเกินจริง • จัดทำแผนกลยุทธ์ขึ้นมาใหม่ • ตามแนวทาง BSC • หรือศึกษาเทียบเคียง • (Performance Benchmarking) • ระดับสากล • ติดตามและประเมินผล เพื่อปรับปรุงแผนปีละครั้ง • ปรับปรุงJob Description, • Job Assignment Sheet • และ พิจารณาความดี ความชอบ • โดยผูกกับผลงานตาม KPI ที่ระบุไว้ในแผน TPC NETWORK
ระหว่างประเทศ หน่วยงานที่ควบคุม การเมือง และ กฎหมาย นักบริหาร และองค์การ รัฐบาล/กระทรวง/ทบวง/กรม ต้นสังกัด ลูกค้า/ผู้รับบริการ เทคโนโลยี คู่แข่งขัน เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม สภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อองค์การ TPC NETWORK
ประเด็นพิจารณาการบริหารความเสี่ยงของภาครัฐประเด็นพิจารณาการบริหารความเสี่ยงของภาครัฐ • ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ หรือเอกชน จะต้องให้ความสำคัญกับการบริหารความเสี่ยงด้วยกันทั้งสิ้น • หากเกิดความเสี่ยงในการจัดการภาครัฐ จะมีผลกระทบในวงกว้างมากกว่าการจัดการภาคเอกชน • การตัดสินใจ(Decision making) ของภาครัฐต้องใช้ความระมัดระวังและรอบคอบอย่างมาก • ความเสี่ยงของภาครัฐอยู่ที่การใช้งบประมาณ เพื่อให้ได้ประโยชน์คุ้มค่ากับสาธารณะ(Cost-effective) รวมถึงการตรวจสอบการใช้งบประมาณ • ความเสี่ยงเรื่องข้อมูลข่าวสาร หรือความลับทางราชการที่อาจจะมีผลกระทบต่อ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(Stakeholders) • ความเสี่ยงต่อข้อจำกัด/การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง(Political constraints)และการปรับเปลี่ยน/ยกเลิกนโยบายสาธารณะ(Public policy) ฯลฯ TPC NETWORK
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี: หนทางการขจัดความเสี่ยง หลักนิติธรรม(Rule of law) หลักความรับผิดชอบ(Responsiveness) หลักความโปร่งใส(Transparency) หลักการตรวจสอบได้(Accountability) หลักความคุ้มค่า ประสิทธิภาพและประสิทธิผล(Effectiveness and Efficiency) หลักการมีส่วนร่วม(Participation) หลักความทั่วถึงและเท่าเทียมกัน(Equity and Equality) หลักการเห็นพ้องร่วมกัน / สมานฉันท์(Consensus) TPC NETWORK