1.61k likes | 6.64k Views
รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา วิชา ประวัติศาสตร์ ม.1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 1. เวลาและการแบ่งยุคสมัย ทางประวัติศาสตร์. เวลาและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์. เวลาและช่วงเวลา การนับและการเทียบศักราช การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์. เวลาและช่วงเวลา.
E N D
รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา วิชา ประวัติศาสตร์ ม.1
หน่วยการเรียนรู้ที่1 เวลาและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
เวลาและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์เวลาและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ • เวลาและช่วงเวลา • การนับและการเทียบศักราช • การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
เวลาและช่วงเวลาในประวัติศาสตร์เวลาและช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ เวลาในประวัติศาสตร์ นิยมบอกเป็นปี ถ้าต้องการให้รู้ชัดเจนมากขึ้น เพราะมีความสำคัญมาก จะบอกเป็น วัน เดือน ปี ช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ บอกให้รู้เวลาที่ชัดเจนเกี่ยวกับบุคคลหรือเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
ความสำคัญของเวลาและช่วงเวลาความสำคัญของเวลาและช่วงเวลา • บอกให้รู้ว่าเหตุการณ์ต่างๆ เกิดขึ้นและสิ้นสุดเวลาใด • บอกให้รู้ว่าเหตุการณ์ต่างๆ เกิดขึ้นมานานเท่าใด • บอกให้รู้ว่าเหตุการณ์ต่างๆ เหตุการณ์ใดเกิดขึ้นก่อนหรือหลัง เมื่อเปรียบเทียบกับเหตุการณ์อื่นๆ • บอกให้รู้ถึงความสัมพันธ์หรือเกี่ยวข้องของเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ • ทำให้เข้าใจและวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ ในประวัติศาสตร์ได้ดีขึ้น
ตัวอย่างเวลาและช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ตัวอย่างเวลาและช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ พ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงครองราชย์ระหว่าง พ.ศ.1822-1841 ซึ่งเป็นเวลาใกล้เคียงกุบไลข่าน (ภาพเล็ก) พ.ศ. 1803-1837 ข่านของมองโกลที่มีอำนาจปกครองจีนในสมัยนั้น
การนับและการเทียบศักราชการนับและการเทียบศักราช
การนับศักราชแบบสากล คริสต์ศักราช (ค.ศ.) คริสต์ศักราชที่ 1 เริ่มนับตั้งแต่ปีที่พระเยซูคริสต์ประสูติ ตรงกับ พ.ศ. 544 ฮิจเราะห์ศักราช (ฮ.ศ.) ฮิจเราะห์ศักราชที่ 1 ยึดปีที่ท่านนบีมุฮัมมัด อพยพจากเมืองเมกกะไปเมืองเมดินะ ตรงกับ พ.ศ. 1165
การนับศักราชแบบไทย พุทธศักราช (พ.ศ.) ไทยเริ่มนับพุทธศักราชที่ 1 เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ์ปรินิพพานไปแล้ว 1 ปี มหาศักราช (ม.ศ.) เริ่มภายหลังพุทธศักราช 621 ปี พบมากในจารึกสุโขทัย จุลศักราช (จ.ศ.) เริ่มภายหลังพุทธศักราช 1181 ปี พบมากในศิลาจารึกและพงศาวดารของล้านนา สุโขทัย อยุธยา และรัตนโกสินทร์ รัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ.) เริ่มนับปีที่รัชกาลที่ 1 ทรง สถาปนากรุงเทพมหานครขึ้นเป็นราชธานี
หลักเกณฑ์การเทียบศักราชหลักเกณฑ์การเทียบศักราช
ตัวอย่างศักราชในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ตัวอย่างศักราชในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ • “1205 ศก ปีมะแม พ่อขุนรามคำแหง หาใคร่ใจในใจ แล่ใส่ลายสือไทยนี้...” • ปี 1205 เป็นการนับแบบมหาศักราช เมื่อเทียบเป็น พ.ศ. ให้บวกด้วย 621 = พ.ศ. 1826 เป็นปีที่พ่อขุนรามคำแหงมหาราชประดิษฐ์อักษรไทย • ที่มา : ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ด้านที่ 4
การแบ่งช่วงเวลา ตามแบบสากล
สมัยก่อนประวัติศาสตร์สมัยก่อนประวัติศาสตร์
สมัยโบราณ สมัยประวัติศาสตร์ • สมัยประวัติศาสตร์ • ร่วมสมัย • สมัยกลาง • สมัยใหม่
การแบ่งช่วงเวลา ตามแบบไทย
การแบ่งตามรัชกาล • นอกจากนี้ในสมัยรัตนโกสินทร์ ได้นำเอาลำดับของรัชกาลมาเป็นเกณฑ์ในการแบ่งด้วย
การแบ่งตามการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการแบ่งตามการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
การแบ่งตามการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมการแบ่งตามการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม
การแบ่งตามรัฐบาลบริหารประเทศการแบ่งตามรัฐบาลบริหารประเทศ
ตัวอย่างเวลา ช่วงเวลา และยุคสมัยในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทย “เมื่อชั่วพ่อกู กูบำเรอแก่พ่อกู กูบำเรอแก่แม่กู กูได้ตัวเนื้อตัวปลา กูเอามาแก่พ่อกู กูได้หมากส้มหมากหวาน อันใดกินอร่อยกินดี กูเอามาแก่พ่อกู...” ข้อความข้างต้นกล่าวถึง ช่วงเวลา หรือสมัย คำว่า “เมื่อชั่วพ่อกู” คือ เมื่อครั้งหรือสมัยพระราชบิดาของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช (เมื่อชั่ว=เมื่อครั้ง, เมื่อรัชสมัย) คือ พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ พ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงปรนนิบัติต่อพระราชบิดา ได้เนื้อ (สัตว์บก) ได้ปลา (สัตว์น้ำ) ได้ผลไม้เปรี้ยวหวานที่อร่อย ก็เอามาถวาย
ความสัมพันธ์ของอดีตที่มีต่อปัจจุบันและอนาคตความสัมพันธ์ของอดีตที่มีต่อปัจจุบันและอนาคต อดีตกำหนดปัจจุบัน • ประวัติศาสตร์มีความต่อเนื่อง ความเจริญหรือความเสื่อมจากอดีตย่อมมีผลต่อเนื่องถึงปัจจุบัน อดีตให้บทเรียนกับปัจจุบัน • อดีตทำให้เกิดบทเรียน เป็นตัวอย่างให้กับคนรุ่นปัจจุบันทั้งในเรื่องดี และไม่ดี ปัจจุบันส่องทางแก่อนาคต • สภาพปัจจุบันจะบอกให้เรารู้ได้ว่าอนาคตจะเป็นอย่างไร