220 likes | 391 Views
Thai National Drug Code. THINK meeting 3 September 2010 Boonchai Kijsanation MD.,PhD . Ministry of Public Health. Information Sources Heavily drawn from these presentations. Why we need codes?. To get to the same meaning of concepts (entities, things etc)
E N D
Thai National Drug Code THINK meeting 3 September 2010 BoonchaiKijsanationMD.,PhD. Ministry of Public Health
Why we need codes? • To get to the same meaning of concepts (entities, things etc) • Semantic standard = Meaning standard • Sharing information • Machine (Computer) understandable
Interoperability needs STANDARDs • Semantics standards • Coding : ICDs, National Drug Codes • Medical Terminology: SNOMED-CT, LOINC • Syntactic standards : HL7 messaging standards, HL7-CDA (Clinical Document Architecture) • Core data sets standards • Security and Privacy standards
International Drug Codes • AHFS Pharmacologic-Therapeutic Classification 2008 • BNF -British National Formulary • ATC -The anatomical therapeutic chemical classification system • US National Drug Codes, US RxNorm(NLM) • IOWA Drug Code • Dictionary of Medicines and Devices (dm+d)
รหัสมาตรฐานด้านยา: ประวัติความเป็นมา มีความพยายามจัดทำรหัสยามาตรฐาน โดยกระทรวงสาธารณสุขมา ตั้งแต่ก่อนปี พ.ศ. 2529 เพื่อใช้เป็นรหัสกลางสำหรับโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขโดยกำหนดรหัสตามชื่อทั่วไปของยา (Generic name) ซึ่งในตอนนั้นเริ่มที่ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ แต่ไม่ได้ถูกนำไปใช้อย่างแพร่หลาย เนื่องจาก • ไม่ครอบคลุมยาทุกรายการในบัญชียาหลักแห่งชาติ • ไม่ได้จัดทำรหัสยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ • มีการปรับปรุงบัญชียาหลักแห่งชาติ แต่ไม่ได้จัดทำรหัสยาเพิ่ม • รหัสที่จัดทำเป็นเพียงรหัสของตัวยาเท่านั้น ไม่มีการกำหนดรหัสความแรงหรือรูปแบบด้วย
สถานการณ์รหัสยาของประเทศไทยสถานการณ์รหัสยาของประเทศไทย • รหัสยาขององค์การเภสัชกรรม • รหัสยาของกรมบัญชีกลาง (ระบบสวัสดิการข้าราชการ) • รหัสยาของกรมบัญชีกลาง (ระบบ GFMIS) • รหัสยาของกรมศุลกากร • รหัสยาของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ • รหัสยาที่กำหนดเองของแต่ละหน่วยบริการ (Local code) • รหัสยาของคณะทำงานจัดทำรหัสมาตรฐานข้อมูลและชุดโครงสร้างข้อมูลของยาฯ กระทรวงสาธารณสุข 2551 (กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ + อย. + สนย.) สปสช. สนับสนุน
แนวคิดในการกำหนดรหัสมาตรฐานด้านยาของคณะทำงานจัดทำรหัสมาตรฐานข้อมูลและชุดโครงสร้างข้อมูลของยาฯแนวคิดในการกำหนดรหัสมาตรฐานด้านยาของคณะทำงานจัดทำรหัสมาตรฐานข้อมูลและชุดโครงสร้างข้อมูลของยาฯ • ต้องมีความยืดหยุ่นที่สามารถนำไปใช้งานในระบบต่างๆได้ • ครอบคลุมผลิตภัณฑ์ที่มีการขึ้นทะเบียนตำรับยาในประเทศไทย • ยืดหยุ่นให้หน่วยงานต่างๆสามารถใช้รหัสเดิมของตัวเองได้ถ้าต้องการ
การออกแบบชุดโครงสร้างรหัสมาตรฐานด้านยาการออกแบบชุดโครงสร้างรหัสมาตรฐานด้านยา โครงสร้างของรหัส ประกอบด้วย 5 ส่วน (24 หลัก) คือ 1. รหัสประเภทยา 1 หลัก 2. รหัสตัวยา 10 หลัก 3. รหัสความแรงของยา 5 หลัก 4. รหัสรูปแบบของยา 3 หลัก 5. รหัสเจ้าทะเบียนยา(ผู้ผลิต/ผู้นำเข้า) 5 หลัก
ตัวอย่างรหัสมาตรฐานยา 24 หลัก PARACETAMOL 500 mgTABLET องค์การเภสัชกรรม 100752000004493120381506 รูปแบบ ยาเม็ดรับประทาน ประเภทยาเดี่ยว ชื่อยาพาราเซตามอล เจ้าของผลิตภัณฑ์องค์การเภสัชกรรม ความแรง500 mg
ข้อดี เป็นรหัสที่มีการออกแบบครอบคลุมรายละเอียดที่ต้องใช้ในการทำข้อมูลเชิงสถิติของยาได้ สามารถเลือกใช้ตามความละเอียดที่ต้องการ โดยไม่จำเป็นต้องใช้รหัสทั้งหมด รองรับการใช้ทั้งกรณีที่เป็นยาเดี่ยวและยาผสม สามารถปรับปรุงรหัสให้ทันสมัยอยู่เสมอ เนื่องจากมีการดักเก็บข้อมูลตั้งแต่ตอนขึ้นทะเบียนยาที่ อย. ข้อจำกัด เหมาะสมสำหรับยาที่จำหน่ายในประเทศไทยเท่านั้น ยังไม่สามารถใช้ในระดับสากลได้ หลักเกณฑ์ในการกำหนดรหัสยาเดี่ยวและยาผสมใช้มาตรฐานที่ต่างกัน ทำให้ต้องดูแลทั้ง 2 ระบบไปพร้อมกัน ไม่มีรายละเอียดทางด้านเภสัชวิทยา เนื่องจากจัดทำขึ้นเพื่อใช้ในการเชื่อมโยงข้อมูลเป็นหลัก ยาตัวเดียวกัน ที่ใช้ชื่อการค้าต่างกัน แต่ผลิตโดยผู้ผลิตรายเดียวกัน จะได้รหัสเดียวกัน