150 likes | 448 Views
Learning Organization. Double-Loop Learning. ประวัติอันเกี่ยวกับแนวความคิดขององค์กรแห่งการเรียนรู้.
E N D
Learning Organization Double-Loop Learning
ประวัติอันเกี่ยวกับแนวความคิดขององค์กรแห่งการเรียนรู้ประวัติอันเกี่ยวกับแนวความคิดขององค์กรแห่งการเรียนรู้ แนวคิด “องค์การแห่งการเรียนรู้” (Learning Organization) เริ่มมาจากงานเขียนของ Chris Argyris ศาสตราจารย์ด้านจิตวิทยา ที่เสนอแนวความคิดด้านการศึกษาและพฤติกรรมองค์การของมหาวิทยาลัยฮาร์วาด และในปี 1978 Chris Argyris ได้เขียนผลงานร่วมกับ Donald Schon ศาสตราจารย์ด้านปรัชญา แห่ง MIT ซึ่งถือว่าเป็นตำราเล่มแรกที่เขียนเกี่ยวกับ Learning Organizationโดยใช้คำว่า “การเรียนรู้ขององค์การ” (Organization Learning หรือ OL) ซึ่งหมายถึง การเรียนรู้ของคนทั้งหลายที่เกิดขึ้นในองค์การ
Chris Argyris • Influenced: the relationship of people and organizations, organizational learning and action research • Personality and Organization (1957) • Integrating the Individual and the Organization (1964) • Theory in Practice, 1974 • Organizational Learning, 1978 • Organizational Learning II, 1996
Chris Argyris • “Success” largely depend on learning • “Knowledge stems from learning stimulated by a perceived problem”(Argyris and Schon (1996) and Popper (1997, 1999)) • Misunderstand “Learning” • Narrow definition – “problem solving” • Need to increase motivation for learning (i.e. computer bug) • Defensive routine, defensive reasoning (i.e. business consultant) • Blame outside factor • Block learning • No improvement
Defensive Routine, Argyris • Single-Loop Learning (like-thermostat) • Organization Model I = theory-in-action or know-how เน้นการทำงาน หรือวิธีทำ • Double-Loop Learning • Organization Model II = theory-in-use or know-why เน้นการอธิบาย • Ice Breaking Techniques การกำจัดความเย็นชาระหว่างบุคคล • Balanced Scorecard สร้าง Feedback Loop ในระดับองค์กร • Argyris, Schon, “On Organizational Learning,” 1978
การเรียนรู้แบบลูปเดียว หรือ วงรอบเดียว • การเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อองค์กรเผชิญกับปัญหาและความผิดพลาดทางการจัดการที่มุ่งแก้ปัญหาเฉพาะหน้า โดยมีการเรียนรู้ด้วยตนเอง เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดังรูป เมื่อปัญหาเกิดขึ้น จะดูผลที่เกิดตามมา (Consequence) แล้วอาศัยความรู้ในอดีตที่มีอยู่ในตน มาทำการปรับเปลี่ยนการกระทำ (Action Strategy) เพื่อแก้ไขปัญหาข้างต้น
Single-Loop Learning • Focus on “know-how”, “performance”, “Doing the right thing” ( เน้นการทำงาน หรือวิธีทำ) • Design action base on basic value (Universal human tendency) • To remain in unilateral control • To max. “winning” and min. “losing” • To suppress negative feeling • To be as “rational” as possible • Purpose: avoid embarrassment or threat, feeling vulnerable or incompetent • Consequences: defensiveness
Single loop การเรียนรู้แบบลูปเดียว • การเรียนรู้แบบ Single loop ในขั้นที่ 1 เริ่มด้วยการดูสภาพแวดล้อมว่ามีสภาพอย่างไร • ขั้นที่ 2 เปรียบเทียบข้อมูลสิ่งแวดล้อมจากขั้นที่ 1 กับวิธีการปฏิบัติธรรมเนียมการทำงานที่มีอยู่ในตน (การเรียนรู้ในอดีต) • ขั้นที่ 3 ปรับการทำงานให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่เกิดขึ้น • แบบ Single loop จะเหมาะกับงานประจำหรือการตรวจสอบหาข้อผิดพลาดจากที่เคยทำมาเท่านั้นยังอยู่ในกรอบเดิม
การเรียนรู้แบบสองลูป หรือ สองวงรอบ • เป็นการเรียนรู้เพื่อช่วยแก้ปัญหาและสนับสนุนการตัดสินใจอย่างมีประสิทธิผลที่เป็นรูปแบบขององค์กรแห่งการเรียนรู้ ซึ่งก่อให้เกิดการสร้างการเรียนรู้และเป็นที่มาของแบบจำลองทางธุรกิจใหม่ที่สอดคล้องกับความซับซ้อนของการเปลี่ยนแปลงของสถาพแวดล้อมในการแข่งขัน เมื่อปัญหาเกิดขึ้น จะดูผลที่เกิดตามมา (Consequence) แล้วจึงศึกษาตัวแปรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง(Governing Variable) จากนั้นจึงอาศัยความรู้ในอดีตที่มีอยู่ในตนเพื่อดูว่าการการดำเนินการใด มีความเหมาะสม แล้วจึงนำมาปรับเปลี่ยนการกระทำ (Action Strategy) เพื่อแก้ไขปัญหาข้างต้น
Double-Loop Learning • Focus on “know-why”, “Improvement”, “Doing thing right” (เน้นการอธิบาย) • Design action base on revised governing variables • Change individual behavior and assumption • Value “feed back” and learning – from reflexive • Purpose: reduce blindness, inconsistency, increase long-run effectiveness by continuous test assumptions and beliefs (public testing). • Consequences: minimize defensiveness
Double loop การเรียนรู้แบบสองลูป • การเรียนรู้แบบ Double loop ในขั้นที่ 1, 2 และ 3 เหมือนกับการเรียนรู้แบบ Single loop แต่ต่างกันที่ขั้น 2 ซึ่งเป็นการตั้งคำถามว่าเพียงธรรมเนียมการปฏิบัติงานที่ทำอยู่มีความเหมาะสมหรือไม่ก่อนที่จะไปหาวิธีการแก้ไข • ในระบบราชการจะไม่มีขั้นตอนนี้เป็นเพียงการทำเพื่อสนองนโยบายเท่านั้นการเรียนรู้ขององค์การเสมือนสมองจะเป็นแบบ Double loop