670 likes | 1.02k Views
Marine Biology. เป็นการศึกษาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตในทะเล ลักษณะการดำรงชีวิต และระบบนิเวศในทะเล. การจำแนกเขตในทะเล. แบ่งตามพื้นน้ำ (Pelagic province) Vertical Direction - Neritic zone พื้นน้ำส่วนที่อยู่เหนือไหล่ทวีป - Oceanic zone พื้นน้ำบริเวณมหาสมุทรเปิด (ถัดจากไหล่ทวีปออกมา).
E N D
เป็นการศึกษาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตในทะเล ลักษณะการดำรงชีวิต และระบบนิเวศในทะเล
การจำแนกเขตในทะเล แบ่งตามพื้นน้ำ (Pelagic province) • Vertical Direction - Neritic zone พื้นน้ำส่วนที่อยู่เหนือไหล่ทวีป - Oceanic zone พื้นน้ำบริเวณมหาสมุทรเปิด (ถัดจากไหล่ทวีปออกมา)
Horizontal direction - Photic zone (0-200 m) - Aphotic zone (200-1000 m) - Bathypelagic zone (1000-4000 m) - Abyssopelagic zone (more than 4000 m)
แบ่งตามพื้นดิน (Benthic province) • Supralittoral • Littoral (Intertidal) • Sublittoral (Subtidal) • Bathyal zone • Abyssal zone • Hadal zone • Deep sea trench
Pelagic organisms • Pleuston สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถว่ายทวนกระแสน้ำได้ แต่จะมีส่วนของร่างกายที่ยื่นพ้นผิวน้ำขึ้นไปในอากาศเรียกว่า sail ex. Protogese Man of War (Physalia sp.)
Plankton แบ่งตามวงชีวิต 1. Holoplankton ตลอดชีวิตเป็นแพลงก์ตอน 2. Meroplankton บางช่วงของชีวิตเป็นแพลงก์ตอน 3. Typchoplankton สัตว์หน้าดินที่ถูกพัดพาขึ้นมาอยู่ในมวลน้ำ
แบ่งตามความเป็นพืชหรือสัตว์แบ่งตามความเป็นพืชหรือสัตว์ • Phytoplankton primary producer, Mineralizer ในทะเล ตัวอย่างเช่น ไดอะตอม, ไดโนแฟลกเจลเลท, Chlorella, Isochrysis • Zooplankton พบตั้งแต่ Protozoa ถึง Chordate
Nekton • Fish • Stenohaline fish • Euryhaline fish • permanent residents • visitors
Benthic organisms • สัตว์ทะเลที่มีกระดูกสันหลังหรือไม่มีกระดูกสันหลังที่หากิน หรืออาศัยอยู่บริเวณพื้นท้องทะเลหรือมีความเกี่ยวข้องกับพื้นท้องทะเล • สัตว์ในกลุ่มนี้มีมากมายและมีความสำคัญทางเศรษฐกิจ • คิดเป็น 98% ของสัตว์ทั้งหมดในทะเล
แบ่งตามที่อยู่ • Epifauna (epibenthos) mobile & sessile organisms • Infauna • Boring animals
Size classification of benthic organism • Macrofauna (macrobenthos) > 0.5 mm. ตัวใหญ่กว่าอนุภาคดิน ฝังตัวด้วยการมุด ขุดรู หรืออยู่ที่ผิว • Meiofauna < 0.5 mm. ตัวขนาดเล็กกว่าอนุภาคดิน เคลื่อนตัวตามซอกดิน • Microfauna < 0.1 mm. เกาะติดกับอนุภาคดิน
Epibenthos Epibenthic noncolonial organisms • hold fasts เช่น stalked barnacles, สาหร่ายทะเล • Roots เช่น stalk crinoids, หญ้าทะเล • cement เช่น หอยนางรม, acorn barnacles • basal disk เช่น ดอกไม้ทะเล เคลื่อนที่ได้ • byssal threads เคลื่อนที่ได้โดยสร้าง threads ใหม่ • cirri เช่น ดาวขนนก • สูญญากาศ เช่น หอยหมวกเจ๊ก ลิ่นทะเล หอยเป๋าฮื้อ
Colonial organisms • Hold fast hydrozoa • cement ใน ปะการัง • ฟองน้ำ เจาะไชพื้นที่เป็น CaCO3
Infauna 1. Free living เช่น errant polychaetes, หอยเสียบ หอยแครง 2. Burrowing เช่น amphipods ปู 3. Tube dwelling เช่น sedentary polychaetes 4. Interstitial forms เช่น meiofauna
Benthic plant • Macroalgae and seaweed อยู่ตามพื้นหินหรือพื้นทราย ต่ำกว่าเขตน้ำลงต่ำสุด • พืชดอก อาศัยอยู่บริเวณที่ลุ่มน้ำเค็ม (salt marsh) • seagrass
A. Definition of Ecology • Word "ecology" coined from Greek word "oikos", which means "house" or place to live" • The study of the interaction of organisms with their environments • involves understanding biotic and abiotic factors influencing the distribution and abundance of living things
B. Scope of Ecology 1. population growth 2. competition between species 3. trophic (feeding) relationships 4. symbiotic relationships 5. interaction with the physical environment
Ecology and Ecosystem How difference?
ระบบนิเวศน์ในทะเลที่มนุษย์สนใจ ส่วนใหญ่จะอยู่บริเวณชายฝั่งตั้งแต่เขตน้ำขึ้นน้ำลงจนถึงไหล่ทวีป • สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในบริเวณดังกล่าวยังได้รับอิทธิผลจากปัจจัยทางสภาวะแวดล้อมที่มาจากพื้นทวีป
Rocky shore • หาดหิน เป็นบริเวณที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางกายภาพ และปัจจัยทางชีวภาพที่มีต่อการแพร่กระจายของพืชและสัตว์ทะเลอย่างชัดเจน • การกระจายของพืชและสัตว์ทะเลในหาดหินจะมีลักษณะเป็นกลุ่มๆเป็นแนวตามระดับ ความสูงวัดจากระดับน้ำทะเล การผุพังหรือการกัดเซาะของน้ำทะเลทำให้หินเกิดเป็นโพรงหรือซอกเล็กซอกน้อย ทำให้มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่มากมาย รวมทั้งเป็นแหล่งหลบภัยของสัตว์น้ำวัยอ่อนได้อย่างดี
ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของระบบนิเวศหาดหินคือ คลื่นลม น้ำขึ้นน้ำลง การเปลี่ยนแปลงความเค็ม อุณหภูมิ และสภาวะการสูญเสียน้ำ
ขณะน้ำลงมักจะมีน้ำทะเลที่ค้างอยู่ตามแอ่งหรือซอกหิน เราเรียกว่าแอ่งหิน (tide pool) พืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่ในแอ่งนี้จะต้องมีการปรับตัวที่ดีมากต่อการเปลี่ยนแปลงความเค็ม อุณหภูมิและออกซิเจนในรอบวัน สัตว์ทะเลที่พบมากในแอ่งหินได้แก่ ปูหิน ปูเสฉวน ฟองน้ำ ดอกไม้ทะเล กุ้งและหอยฝาเดียวชนิดต่างๆ
ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในหาดทรายได้แก่การกระทำของคลื่น ลม น้ำขึ้นน้ำลง และความร้อนจากดวงอาทิตย์ • สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในหาดทรายจำเป็นต้องมีการปรับตัว เช่น มีเปลือกหนา ฝังตัวอยู่ในพื้นทรายในช่วงน้ำลง เป็นต้น • หาดทรายจะมีลักษณะของพื้นทะเลและขนาดของเม็ดทรายแตกต่างกันไปตามลักษณะทางภูมิศาสตร์และฤดูกาล
เป็นสังคมพืชที่รวมกันอยู่ในเขตน้ำขึ้นน้ำลงบริเวณพื้นเลน พบมากบริเวณชายฝั่งทะเลระหว่างเส้นละติจูด 25 องศาเหนือและใต้ • พืชในป่าชายเลนจะมีคุณสมบัติพิเศษ กล่าวคือสามารถเจริญเติบโตได้ดีในดินเลนค่อนข้างเค็ม มีระบบรากที่ซับซ้อน เพื่อช่วยในการหายใจ และเพิ่มประสิทธิภาพการยึดเกาะ
ประโยชน์ของป่าชายเลน (ในเชิงนิเวศน์) • Primary productivity • Nursery ground • Wave breaker • Land builder • Coastal erosion • Fisheries
โกงกาง แสม
เสม็ด ตะบูน
ผลกระทบจากการใช้ประโยชน์ป่าชายเลนผลกระทบจากการใช้ประโยชน์ป่าชายเลน