180 likes | 333 Views
ร่างแนวคิด( draft of project ) โครงการปลูกข้าวบ้านฉัน เป็นอาหารบ้านเธอ ( Organic Farming ). ส่วนหนึ่ง กิจกรรมร่วมรับผิดชอบต่อสังคม( CSR: ) ยุทธศาสตร์องค์กรแห่งความสุข( Happy Work Place ). ภาพรวมยุทธศาสตร์ องค์กรแห่งความสุขปี 2. -สุขภาวะ -ความร่วมมือ -ไว้วางใจ(ศรัทธา). จะดำเนินการ ปี 2556.
E N D
ร่างแนวคิด(draft of project )โครงการปลูกข้าวบ้านฉัน เป็นอาหารบ้านเธอ(Organic Farming) ส่วนหนึ่ง กิจกรรมร่วมรับผิดชอบต่อสังคม(CSR:) ยุทธศาสตร์องค์กรแห่งความสุข(Happy Work Place)
ภาพรวมยุทธศาสตร์ องค์กรแห่งความสุขปี 2 -สุขภาวะ -ความร่วมมือ -ไว้วางใจ(ศรัทธา) จะดำเนินการ ปี 2556
CP-CSR activities พูดคุย(Dialogue)พันธมิตรในพื้นที่
(Dialogue)แนวทางปลูกต้นไม้เฉลิมพระเกียรติ การประชุมวางแผน 3 ฝ่าย ชุมชน-บริษัท ซีพี -โรงพยาบาล
ร่วมสำรวจเส้นทางปลูกต้นไม้(Survey Community)
ปัจจัยนำเข้า(Input) กระบวนการ(Process) ผลผลิต(Output) กรอบแนวคิดการทำงาน(Conceptual Framework) 1.สถานการณ์ความปลอดภัยด้านอาหาร อ.ระโนด 1.1 สถานการณ์สารปนเปื้อนในอาหาร อ.ระโนด(รพ.และ สสอ.) 1.2 สถานการณ์การตรวจระดับเอ็นไซม์โคลีนเอสเตอร์เรส 1.3 สถานการณ์โรคมะเร็ง 2.เครือข่ายด้านอาหาร อ.ระโนด 3.นวัตกรรม/กิจกรรมของเครือข่ายด้านอาหาร อ.ระโนด 4.แหล่งงบประมาณ 4.1 โรงพยาบาลระโนด 4.2 สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ 4.3 บริษัท เชฟรอน ขุดเจาะฯ 4.4 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด(มหาชน) 1.บุคลากร รพ.และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจ 80 % 2.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความตระหนักถึงอันตรายจากสารเคมีตกค้างทางการเกษตร ขั้นตอนเตรียม(Preparation) 1.Dialogue 1st,2nd ,3rd 2.ศึกษาดูงานโรงเรียนภูมิปัญญาชาวนา) 3.ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ ผลลัพธ์(Outcome) 1.เกิดระบบกลุ่มเกษตรกรเพื่อการผลิตแบบ CSA 2.เกิดจุดเรียนรู้ การทำนาแบบอินทรีย์ ขั้นตอนดำเนินการ 4.การจัดหาพันธุ์ข้าว(พื้นเมือง,ตลาด) 5.เตรียมปุ๋ยหมัก,การเพาะกล้าโยน,เตรียมดิน 6.ปฏิบัติการชุมชน ปลูกข้าวบ้านฉัน เป็นอาหารที่บ้านเธอ/นิทรรศการ/เกมส์/กีฬามหาสนุก 7.การแปรรูป/การจัดบรรจุภัณฑ์ 8.ประเมินผล ผลกระทบ(Impact) 1.ระบบการผลิตแบบ CSA ถูกนำไปใช้ เพื่อพัฒนาระบบการเกษตร
จำนวนตัวอย่างที่ผ่าน-ตกมาตรฐานสารปนเปื้อนจำนวนตัวอย่างที่ผ่าน-ตกมาตรฐานสารปนเปื้อน
สถานการณ์สารเคมีตกค้างในกระแสเลือดของเกษตรกรและผู้บริโภคสถานการณ์สารเคมีตกค้างในกระแสเลือดของเกษตรกรและผู้บริโภค
ตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกรตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร อย.น้อยตรวจสารปนเปื้อน มะเร็งในเกษตรกร/ผู้บริโภค สารเคมีต้องห้ามใช้ ตกค้างยาวนาน
ระบบเกษตรแบบชุมชนหนุนเสริมCSA (Community Supported Agriculture) • เกิดขึ้นเมื่อประมาณ 30 กว่าปี ทวีปอเมริกาเหนือ ญี่ปุ่น เรียกว่า “teikei” • ระบบเกษตรที่เป็นร่วมมือกันของทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภคที่มาจับมือกัน เพื่อผลิตอาหารที่ดี ภายใต้ระบบความสัมพันธ์ที่ดี และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • หลักการและแนวคิด 1.แก้ปัญหาความมั่นคงทางอาหาร 2.ผู้บริโภคมีส่วนรับผิดชอบต่อความเสียหายจากการผลิต 3.การนำผู้บริโภคมาเรียนรู้วิถีผลิตเกษตรกรรม 4.ผู้ผลิตและผู้บริโภคต่างมีกิจกรรมร่วมกัน 5.การแบ่งรับค่าใช้จ่าย เช่น ค่าขนส่ง (ที่มา:www.consumersouth.org/paper/828 เรื่อง ประสบการณ์ CSA ในประเทศไทย)
กลุ่มผักใจประสานใจ อ.ด่านซ้าย จ.สุพรรณบุรี ผู้บริโภค 250 Bht/3 kg ,12,000 Bht./yr 3 kg/wk กลุ่มผักใจประสานใจ ค่าผัก 50 Bht./kg บริหารจัดการ 40 Bht./time ขนส่ง 60 Bht./time
กรณีศึกษา การทำนาโยนอินทรีย์ ต.บ่อแดง การลงแขกเกี่ยวข้าว ดูแลใส่ปุ๋ยอินทรีย์ ชาวบ้านช่วยกันโยนกล้า ทำความเข้าใจชาวบ้าน ไถ่/เตรียมดินทำนาโยน หยอดเตรียมกล้าโยน
เพาะกล้า 3 wk หว่านปุ๋ย Timeline โครงการปลูกข้าวบ้านฉัน เป็นอาหารบ้านเธอ ศึกษาดูงาน ทำปุ๋ยอินทรีย์ เก็บเกี่ยว พื้นที่ : รร.ร.ว. /เกษตรกร มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ต.ค.56 นิทรรศการ กิจกรรมปลูกข้าวฯ แปรรูปข้าวกล้องงอก CP Dialogue 1st Dialogue 2nd ,3rd กลุ่มเกษตร เกมส์/กีฬาเชื่อมสามัคคี สกอ. อปท. จุดเรียนรู้เรื่องการเกษตร รพ.ระโนด
พื้นที่สาธารณประโยชน์ ต.ระโนด ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง รว. ตัวอย่างพื้นที่น่าสนใจ(Target)
กลุ่มเป้าหมาย 1.กลุ่มเกษตรกร(พื้นที่ บ้านใหม่ ตะเครียะ ผักกูด คลองแดน) เข้าสู่โรงเรียนชาวนา 2.พื้นที่สาธารณประโยชน์ 3.ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ร.ร.ระโนดวิทยา