70 likes | 236 Views
ทิศทางการดำเนินงานต่อไป และการจัดทำโครงการติดตามตรวจสอบสาร POPs ระยะยาว ในประเทศ. ส่วนสารอันตราย สำนักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ. 1. การติดตามตรวจสอบสาร POPs ระยะยาว.
E N D
ทิศทางการดำเนินงานต่อไป และการจัดทำโครงการติดตามตรวจสอบสาร POPsระยะยาว ในประเทศ ส่วนสารอันตราย สำนักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ 1
การติดตามตรวจสอบสาร POPs ระยะยาว สอดคล้องกับแผนการติดตามตรวจสอบระดับโลก (Global Monitoring Plan) และระดับภูมิภาค เพื่อสนับสนุนการประเมินความมีประสิทธิผลตามข้อบทที่ 16 ของอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ ได้ข้อมูลที่เป็นระบบเดียวกันและเปรียบเทียบกันได้ เพื่อให้ทราบแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงระดับสาร POPs ตามกาลเวลา เพื่อให้ทราบข้อมูลการเคลื่อนย้ายของสาร POPs ในระดับภูมิภาคและระดับโลก 2
จัดตั้งสถานที่เก็บตัวอย่างสำหรับเป็นสถานีเก็บตัวอย่าง super site เพื่อดำเนินการเก็บตัวอย่าง ambient air ในระยะยาว remote site (reflecting long-range transport) frequent monitoring (เก็บตัวอย่างเดือนละ 1 ครั้ง) ตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างในห้องปฏิบัติการไทย (background level) target : สาร pesticide POPs 9 ชนิด กล่าวคือ aldrin; chlordane; DDT; dieldrin; endrin; heptachlor; hexachlorobenzene; mirex และ toxaphene และสาร POPs ชนิดใหม่ 2 ชนิด คือ hexachlorocyclohexaneและpentachlorobenzene เป้าหมายการดำเนินงาน
ปี 2557 ดำเนินกิจกรรม cooperative monitoring ร่วมกับกระทรวงสิ่งแวดล้อมญี่ปุ่น คัดเลือกพื้นที่สถานีเก็บตัวอย่างที่เหมาะสม (remote/electricity) ทดลองเก็บตัวอย่างและตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างในประเทศไทย โดยมีผู้เชี่ยวชาญญี่ปุ่นให้การสนับสนุนเป็นพี่เลี้ยง ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ของไทยด้านการเก็บตัวอย่าง ambient air โดยใช้ high volume sampler แบ่งตัวอย่างเพื่อวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการของไทย และห้องปฏิบัติการในญี่ปุ่น เพื่อเทียบผลการตรวจวิเคราะห์และควบคุมคุณภาพ แนวทางการดำเนินงานในเบื้องต้น
ปี 2558 เริ่มดำเนินกิจกรรมติดตามตรวจสอบสาร POPs ระยะยาว ณ สถานีเก็บตัวอย่างที่เหมาะสม ตามผลการศึกษา ในปี 2557 อาจมีการประสานเทียบผลการตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างระหว่างประเทศในภูมิภาคเป็นระยะ ๆ กรมควบคุมมลพิษ อยู่ระหว่างหารือเพิ่มเติมกับผู้เชี่ยวชาญญี่ปุ่น เกี่ยวกับแนวทางการเสริมสร้างขีดความสามารถของประเทศไทยด้านการตรวจวิเคราะห์และติดตามตรวจสอบสาร POPs แนวทางการดำเนินงานในเบื้องต้น (ต่อ)
ประเด็นการดำเนินงานต่อไปในภาพรวม ด้านการตรวจวิเคราะห์และการติดตามตรวจสอบสาร POPs การศึกษาวิจัย การตรวจวิเคราะห์และติดตามตรวจสอบสาร POPs ชนิดใหม่ โดยเฉพาะสาร POPs ด้านอุตสาหกรรม อาทิ สารกลุ่ม PFOS, กลุ่ม PBDEs และ hexabromocyclododecane การติดตามตรวจสอบสาร POPs ในตัวอย่างเลือด และน้ำนมมารดา การรวบรวมฐานข้อมูล/จัดทำศูนย์ข้อมูลการติดตามตรวจสอบสาร POPs อย่างเป็นระบบ 6
ศูนย์ประสานงานอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯศูนย์ประสานงานอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ สำนักจัดการกากของเสียและสารอันตรายกรมควบคุมมลพิษโทรศัพท์: 0 22982427, 2439โทรสาร: 0 22982442e-mail: chem@pcd.go.th • http://pops.pcd.go.th • http://www.pcd.go.th