240 likes | 378 Views
Apply New 7 Tools. For DSD - Decrease - Step Work Shop. ปรัชญาและ แนวคิดพื้นฐาน ของการบริหารคุณภาพ. A. P. C. D. Management Cycle (P-D-C-A Concept). P-D-C-A.
E N D
Apply New 7 Tools For DSD - Decrease - Step Work Shop
ปรัชญาและแนวคิดพื้นฐานปรัชญาและแนวคิดพื้นฐาน ของการบริหารคุณภาพ
A P C D Management Cycle (P-D-C-A Concept) P-D-C-A • สร้างให้พนักงานทุกคน ทุกระดับ ยึดถือเป็นนิสัยในการทำงาน โดยเฉพาะนิสัยการแก้ปัญหาแบบป้องกัน(Prevention Against the Recurrence) Plan วางแผน Do ปฏิบัติตามแผน Check ตรวจสอบผล Action กำหนดมาตรฐาน
การปรับปรุงองค์การ ส่วนหนึ่งคือต้องการให้พนักงาน ..... 1. เรียนรู้การวิเคราะห์ปัญหา 2. เรียนรู้การให้ความสำคัญในการวางแผน 3. เรียนรู้การให้ความสำคัญของกระบวนการแก้ไขปัญหา 4. เรียนรู้การมองปัญหาอย่างมีจุดเน้น 5. เรียนรู้การคิดอย่างเป็นระบบ
วัตถุประสงค์ของNew 7 Tools 1. เพื่อจัดระบบปัญหาให้ง่ายต่อความเข้าใจ 2. การวางแผนที่ดีต้องยึดกุมสภาพความเป็นจริงให้ได้ 3.P-D-C-A ไม่ดูที่ Result อย่างเดียว เราศึกษา Process ควบคู่ด้วย 4. เมื่อมีปัญหาหลายอย่าง ต้องแก้ไขปัญหาที่สำคัญที่สุดก่อน 5. เพื่อการมองความสัมพันธ์แบบหลาย ๆ มิติ (Dimension)
ข้อควรพิจารณาในการฝึกใช้ New 7 Tools พยายามใช้ ความจริง หลีกเลี่ยงการอนุมาน
เครื่องมือ คิวซี ใหม่ 7 อย่าง NEW 7 TOOLS
NEW 7 TOOLS 1. RELATION DIAGRAM (แผนภาพความสัมพันธ์) 2. AFFINITY DIAGRAM (แผนภาพความใกล้ชิด) 3. TREE DIAGRAM (แผนภาพกิ่งความสัมพันธ์) 6. MATRIX DIAGRAM (แผนภาพตารางไขว้) 7. MATRIX DATA ANALYSIS (การวิเคราะห์ตารางไขว้) 4. ARROW DIAGRAM (แผนภาพลูกศร) 5. PROCESS DECISION PROGRAM CHART (แผนภาพกำหนดกระบวนการ)
PROCESS DECISION PROGRAM CHART (แผนภาพกำหนดกระบวนการ) เครื่องมือที่ใช้ในการกำหนดขั้นตอนโดยละเอียดของการแก้ไข ปัญหาโดยมองถึงอุปสรรคที่จะเกิดขึ้น ในแต่ละขั้นตอนของ การดำเนินการพร้อมทั้งกำหนดแนวทางการแก้ไขปัญหา อุปสรรคนั้นล่วงหน้า
หลักการของ PDPC - จากจุดเริ่มต้นจนถึงได้ผลลัพธ์ของงาน อาจมีหนทางได้หลาย หนทาง หลายวิธี - จะเลือกหนทางหรือวิธีไหนดี ตาม IDEAL ควรไปเส้นทางที่ง่ายที่สุด แต่สภาพความเป็นจริงนั้นยาก - จึงต้องยึดกุมสภาพให้ครบทุกหนทาง เราจึงจะได้ทราบว่าควร ไปหนทางไหนดีที่สุด หรือถ้าเกิดปัญหาขึ้นควรไปหนทางไหน ต่อดีที่สุด
วิธีการจัดทำ PDPC 1. กำหนดจุดเริ่มต้นของงาน และจุดสิ้นสุดของงาน 2. พิจารณากำหนดขั้นตอนที่ดีที่สุดจากจุดเริ่มต้น ไปจุดสิ้นสุดที่ละขั้นตอน 3. เส้นทางดังกล่าวเรียกว่าเป็นYes Route 4. พิจารณาในแต่ละขั้นตอนถึงอุปสรรคที่อาจจะเกิดขึ้น โดยกำหนด ขั้นตอนของการแก้ไข และหนทางกลับสู่ขั้นตอนหลัก 5. เส้นทางในขั้นตอนนี้เรียกว่าเป็นNo Route 6. พยายามระดมสมองให้ครบถ้วน โดยใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรร เพื่อหาอุปสรรคและหนทางต่าง ๆ ให้ครบถ้วน
จุดเริ่มต้นของงาน เส้นที่มีอุปสรรค No Route เส้นที่ดี Yes Route จุดสิ้นสุดของงาน
พบสาวสวย No ได้รู้จักพูดคุย หาแม่สื่อแนะนำ Yes ชวนไปทานข้าว No ดักไปพบนอกบ้าน ไปเยี่ยมที่บ้าน Yes รู้จักกับพ่อแม่ฝ่ายหญิง ติดคุก รู้จักพ่อแม่ฝ่ายเรา No No Yes ไปสู่ขอ ฉุด ไปขอขมา No Yes ได้แต่งงาน
ตัวอย่างเช่น • ใช้หนี้สองแสนภายใน 3 ปี • มีเงิน 3 ล้านภายใน 2 ปี • นำบริษัทเข้าตลาดหลักทรัพย์สู่บริษัทมหาชนใน 5 ปี • ลดต้นทุนบริษัทลง 40% • ฯลฯ
ARROW DIAGRAM (แผนภาพลูกศร) เครื่องมือที่ใช้กำหนดขั้นตอนการดำเนินงาน โดยที่จะพิจารณา ปัจจัยเวลาและลำดับของขั้นตอนประกอบเพื่อประโยชน์ในการ กำหนดจุดเริ่มต้นและสิ้นสุดของงาน ให้งานเป็นไปตามแผน ที่กำหนดไว้
สัญลักษณ์ในการเขียน ARROW DIAGRAM แทนงาน หรือกิจกรรมที่ต้องใช้เวลา เส้นสมมุติ แสดงการต่อเนื่องของกิจกรรม NODE หรือ จุดเชื่อม A B งาน A เริ่มก่อนงาน B A งาน A และงาน B เริ่มต้นพร้อมกัน B A งาน A และงาน B เริ่มต้นพร้อมกัน B
การตั้งคำถามเพื่อการตรวจสอบความสัมพันธ์การตั้งคำถามเพื่อการตรวจสอบความสัมพันธ์ 1. มีกิจกรรมใดบ้างที่ต้องทำให้เสร็จก่อนกิจกรรมที่กำลังพิจารณา ? 2. มีกิจกรรมใดบ้างที่ต้องทำต่อจากกิจกรรมที่กำลังพิจารณา ? 3.มีกิจกรรมใดบ้างที่เริ่มต้นพร้อมกับกิจกรรมที่กำลังพิจารณา ? ? J ? D ? D ?
CRITICAL PATH 6 10 2 2 10 6 D H 4 4 L A 12 0 F I 3 8 2 2 1 0 12 4 9 J B G 3 5 2 C K 1 3 1 5 5 7 E 2 กำหนดเวลาที่เร็วที่สุดที่จะเริ่มงาน (นับจากวันเริ่มต้น) กำหนดเวลาที่ช้าที่สุดที่จะเริ่มงาน (นับถอยหลังจากวันสิ้นสุด)
การดำเนินงานจัดการสัมนานอกสถานที่การดำเนินงานจัดการสัมนานอกสถานที่ (ระยะเวลาเตรียมงานก่อนออกเดินทาง 20 วัน) - เลือกหาสถานที่ - ขออนุมัติเดินทางและงบประมาณ - เตรียมกำหนดการสัมนา - ติดต่อสถานที่ - จองสถานที่ - ติดต่อวิทยากรผู้บรรยาย - แจ้งผู้เข้าร่วมสัมนาถึงกำหนดเดินทาง - ติดต่อขอรถยนต์รับส่งผู้สัมนาและวิทยากร - เบิกเงินสดสำรองเพื่อจ่ายค่าสัมนา - ทีมงานบางส่วนเดินทางไปเตรียมสถานที่ล่วงหน้า - ออกเดินทาง
การดำเนินงานจัดการสัมนานอกสถานที่การดำเนินงานจัดการสัมนานอกสถานที่ (ระยะเวลาเตรียมงานก่อนออกเดินทาง 20 วัน) งานด้านสถานที่ - เลือกหาสถานที่ - ติดต่อสถานที่ - จองสถานที่ - ทีมงานบางส่วนเดินทางไปเตรียมสถานที่ล่วงหน้า งานด้านการเงิน - ขออนุมัติเดินทางและงบประมาณ - เบิกเงินสดสำรองเพื่อจ่ายค่าสัมนา งานด้านธุรการ - เตรียมกำหนดการสัมนา - ติดต่อวิทยากรผู้บรรยาย - แจ้งผู้เข้าร่วมสัมนาถึงกำหนดเดินทาง - ติดต่อขอรถยนต์รับส่งผู้สัมนาและวิทยากร - ออกเดินทาง
4 6 2 ติดต่อสถานที่ จองสถานที่ 14 12 16 4 8 5 2 2 เลือกหาสถานที่ เตรียมสถานที่ 3 2 0 20 ออกเดินทาง 0 20 ขออนุมัติ เบิกเงินสดสำรอง 1 1 2 9 10 4 4 19 4 4 19 เตรียมกำหนดการ 15 1 ติดต่อขอรถยนต์ 6 ติดต่อวิทยากร 15 3 7 1 15 14 1 แจ้งผู้ร่วมสัมนา 7 15 15
ตัวอย่างเช่น • ลอบสังหาร • เปิดร้านอาหาร • จัดงานแต่งงาน • ทำบุญบ้าน • จัดสัมมนานอกสถานที่ • สร้างบ้านใหม่ • จัดงานบวช • ดำเนินคดีกับลูกหนี้ • จัดงานปีใหม่ของบริษัท • ฯลฯ