1 / 60

Introduction to Microcomputer

468 102 Computer for Education. Introduction to Microcomputer. software. ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. ซอฟต์แวร์ ( Software ).

lilian
Download Presentation

Introduction to Microcomputer

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 468 102 Computer for Education IntroductiontoMicrocomputer software ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

  2. ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ควบคุมในเครื่องคอมพิวเตอร์ทำให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมเขียนขึ้นด้วยภาษาต่างๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น ภาษาเบสิก (BASIC) ภาษาโคบอล (COBOL) ภาษาปาสคาล (PASCAL) หรือภาษา HTML (Hypertext Markup Language)

  3. ประเภทของซอฟต์แวร์ • ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) • ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)

  4. Software Subcategories • Business • Graphics • PDA Software • Cellular Software • Hobbies & Interests • Programming • Educational • Internet • Security • Games • Audio/Video Authoring • Utilities • Console Games • Operating Systems • Anti-Spyware

  5. ซอฟต์แวร์ระบบ (SYSTEM SOFTWARE) หมายถึง โปรแกรม หรือคำสั่งที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ ภายในระบบคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท

  6. 1. ระบบปฏิบัติการ (operating system หรือ OS) เป็นชุดคำสั่งที่ทำหน้าที่เป็นสื่อกลางระหว่างโปรแกรมประยุกต์ และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เช่น ระบบปฏิบัติการดอส (Disk Operating System หรือ DOS), WindowsXP, UNIX

  7. ระบบปฏิบัติการเอ็มเอสดอส (MS-DOS) เป็นระบบปฏิบัติการทำหน้าที่ดูแลการทำงานต่างๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น ควบคุมหน่วยความจำ จอภาพ และอุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นๆ โปรแกรม MS-DOS จะทำหน้าที่ประสานงานให้โปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ทำหน้าที่ได้เหมาะสมตามคุณสมบัติของโปรแกรมนั้นๆ

  8. ระบบปฏิบัติการเอ็มเอสดอส (MS-DOS)

  9. ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ (Windows) การทำงานของระบบจะมีลักษณะเดียวกับระบบดอส แต่ต่างกันที่ ระบบวินโดวส์จะติดต่อกับผู้ใช้ในลักษณะของภาพกราฟิค ที่เรียกว่า GUI (Graphical User Interface) โดยผู้ใช้จะติดต่อผ่าน เมนูคำสั่ง และรูปภาพที่เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนคำสั่ง หรือ ไอคอน

  10. OS (Operating system)Windows • OS (Operatingsystem) Windows 95,98,Me,NT, 2000,XP (GUI =Graphical UserInterface)

  11. ระบบปฏิบัติการเครือข่าย (Network Operating System หรือ NOS) ออกแบบเพื่อจัดการงานด้านการสื่อสารของคอมพิวเตอร์ให้สามารถใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ เช่น เครื่องพิมพ์ หรือ ฮาร์ดดิสก์ ลักษณะการทำงานคล้ายกับระบบปฏิบัติการดอส จะแตกต่างในส่วนของการเพิ่มการจัดการเกี่ยวกับเครือข่าย และการใช้อุปกรณ์ร่วมกัน

  12. ระบบปฏิบัติการแบบเปิด (Open Operating System) เป็นระบบที่พัฒนาจากแนวคิดที่ต้องการใช้ระบบปฏิบัติการกับเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ ได้ เช่น ยูนิกซ์(UNIX) ลีนุกซ์ (LINUX) Linux

  13. 2. ตัวแปรภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator) โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกเขียนโดยโปรแกรมเมอร์นั้นจะมีลักษณะเป็น โปรแกรมต้นฉบับ(source code) ซึ่งในแต่ละโปรแกรมจะมีลักษณะโครงสร้างของภาษาที่แตกต่างกันออกไป ในการทำงานของคอมพิวเตอร์จะไม่สามารถเข้าใจภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ที่เรียกว่า ภาษาระดับสูง เนื่องจากคอมพิวเตอร์จะรับข้อมูลที่เป็นสัญญาณไฟฟ้า ซึ่งแทนด้วยเลขฐานสอง(0 หรือ 1) หรือเรียกว่า ภาษาเครื่อง (machine language) เท่านั้น

  14. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (APPLICATION SOFTWARE)

  15. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (APPLICATION SOFTWARE) เป็นโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานด้านต่างๆ ตามความต้องการของผู้ใช้การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในงานด้านต่างๆ ข้อดี คือ โปรแกรมสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตามความประสงค์ของผู้ใช้ ข้อเสีย คือ ต้องใช้เวลาในการพัฒนานาน และเสียค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง

  16. โปรแกรมที่ใช้งานทั่วไป เรียกว่า General purpose software หรือโปรแกรมสำเร็จรูป (Package Software) เป็นซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ (Commercial Software) ซึ่งผู้ใช้สามารถซื้อ นำไปติดตั้งและใช้งานได้ทันทีซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่นิยมใช้สำหรับงานทั่วไป สามารถแบ่งได้ตามประเภทของงานได้ดังนี้

  17. โปรแกรมประมวลผลคำ (WordProcessor)

  18. ปลาดาว ประมวลผลคำ (Writer)

  19. โปรแกรมด้านการคำนวณ (Spreadsheet)

  20. ปลาดาว ตารางคำนวณ (โปรแกรม Cale)

  21. โปรแกรมการนำเสนอข้อมูล (Presentation) Microsoft PowerPoint

  22. ปลาดาว Impress (การนำเสนองาน)

  23. โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล (Database)MS Access

  24. โปรแกรมด้านงานพิมพ์ (Desktop publishing)

  25. โปรแกรมกราฟิค (Graphics) เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการตกแต่งงานกราฟิคต่างๆ ซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ

  26. 1. โปรแกรมสำหรับตกแต่งภาพ

  27. ตัวอย่างภาพที่สร้างจากโปรแกรมกราฟิกตัวอย่างภาพที่สร้างจากโปรแกรมกราฟิก

  28. 2. โปรแกรมช่วยออกแบบ เช่น AutoCAD

  29. โปรแกรมค้นหาข้อมูล • (Resource discoveringsoftware)

  30. Web Browser

  31. Web Browser

  32. โปรแกรมด้านการติดต่อสื่อสาร • (Communication software) - โปรแกรมที่ใช้การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นผ่านกระดานข่าว - โปรแกรมที่ช่วยในการโอนย้ายข้อมูล จากเครื่องผู้ใช้ไปไว้ใน อินเตอร์เน็ต เช่น FTP (file transfer protocol) - โปรแกรมใช้สนทนาพูดคุยโต้ตอบกัน เช่น ICQ, SANOOK QQ, MSN

  33. โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility) เป็นโปรแกรมที่เรียกใช้งาน เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน การดูแลรักษาความปลอดภัย ของเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น โปรแกรมที่ช่วยในการจัดระเบียบข้อมูลในฮาร์ดดิสก์ (Disk defragmenter), โปรแกรมตรวจสอบไวรัส (Virus scan), โปรแกรมบีบอัดข้อมูล (Winzip) เป็นต้น

  34. (Disk defragmenter)

More Related