210 likes | 480 Views
HA Hint & Update. นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน). เนื้อหาที่จะนำเสนอ. เคล็ดลับของการพัฒนาคุณภาพที่เรียบง่ายและได้ผล การประเมินตนเองที่ไม่เป็นภาระ แต่ได้ประโยชน์ในการสะท้อนและสร้างการเรียนรู้ การเตรียมตัวก่อนการเยี่ยมสำรวจ
E N D
HA Hint & Update นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
เนื้อหาที่จะนำเสนอ • เคล็ดลับของการพัฒนาคุณภาพที่เรียบง่ายและได้ผล • การประเมินตนเองที่ไม่เป็นภาระ แต่ได้ประโยชน์ในการสะท้อนและสร้างการเรียนรู้ • การเตรียมตัวก่อนการเยี่ยมสำรวจ • การหลงทางและหลุมพรางที่ผู้เยี่ยมสำรวจพบ และวิธีการที่จะหลบหลีก • แผนงานใหม่ๆ ของ สรพ. • คำถามอื่นๆ
เคล็ดลับของการพัฒนาที่เรียบง่ายและได้ผลเคล็ดลับของการพัฒนาที่เรียบง่ายและได้ผล
เคล็ดลับของการพัฒนาที่เรียบง่ายและได้ผลเคล็ดลับของการพัฒนาที่เรียบง่ายและได้ผล • ระดับบุคคล • สมุดบันทึกคุณภาพ • ทบทวนและใคร่ครวญ: ผู้ป่วย ข้อมูล งาน ความเชื่อ • พัฒนาศักยภาพในตัวเอง: จิตวิญญาณ ระบบงาน ความรู้
เคล็ดลับของการพัฒนาที่เรียบง่ายและได้ผลเคล็ดลับของการพัฒนาที่เรียบง่ายและได้ผล • ระดับหน่วยงาน • Patient Focus in Action • จาก spiritual สู่ safety & standard • เชื่อมโยงจากผู้ป่วย สู่ บ้าน ครอบครัว ชุมชน • เชื่อมโยงจากผู้ป่วย สู่ ระบบงาน หน่วยงาน ทรัพยากร • ควบรวมการทบทวนกับการตามรอย ต่อยอดด้วยการวิจัย • การทบทวน 12 กิจกรรม (เหตุการณ์/ระบบ) + ตามรอย • ทบทวน (ความรู้สึก, ความรู้ฝังลึก, รายกรณี, แบบแผน, performance โดยรวม) • วิจัย (ความรู้สึก, การปฏิบัติ, ความสัมพันธ์, นวตกรรม, ความรู้ใหม่)
ทบทวน & ตามรอยแบบจรวด • มีเวลา 1 นาที: Clinical Outcome • มีเวลา 3 นาที: • ความเสี่ยงสำคัญ • Performance indicator & trend • Improvement effort • เยี่ยมเพื่อกระตุ้น • หาส่วนสุด (จุดเด่นและโอกาสพัฒนา) • หยุดดูเกณฑ์ • เห็นช้างทั้งตัว
Clinical Tracer • ตามรอย Process • Waste • Safety • Standard/Evidence • Spirituality • Handover (การเชื่อมต่อ) Process Performance Other performance indicator
Clinical Performance Indicator • Outcome Indicator => Effectiveness, Safety • Process Indicator(evidence-based) => Appropriateness • Other Performance Indicator => • Other Quality Dimension: Access, Competency, Continuity, Coverage, Efficiency, Equity, Holistic, Responsiveness, Timeliness • Balanced Indicator
การประเมินตนเอง • อ่านมาตรฐานแล้วถามว่า “What’s in it for me?” • บริบทของเราเป็นอย่างไร (ปัญหาสำคัญ กลุ่มผู้ป่วยสำคัญ) • ส่วนสุดของเราเป็นอย่างไร (สิ่งที่โดดเด่น กับ สิ่งที่ต้องปรับปรุง) • สิ่งที่โดดเด่น • ทำอะไร ทำอย่างไร (EI3) ผลลัพฑ์เป็อย่างไร (O) • สิ่งที่ต้องปรับปรุง • มีแผนจะทำอะไร
แผนงานใหม่ๆ ของ สรพ. • HA Plus • Program & Disease Specific Certification • Provincial KM เพื่อการธำรงบันไดขั้นที่สอง • THIP • Safety Innovation Link • SPHInX • SHA • Quality Learning Network
HA Plusมาตรฐานและการรับรองเพื่อตอบสนองความต้องการสู่ความเป็นเลิศและความเป็นสากลยิ่งขึ้น
มาตรฐานและการรับรอง HA Plus • โครงสร้าง • ใช้โครงสร้างของมาตรฐาน HA ทั้งระดับ overall requirement และ multiple requirement เพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงและต่อยอดจากฐานเดิม • ขยายความด้วยรายละเอียดจากแหล่งต่างๆ คือ HA SPA, JCI, MBNQA/TQA • วิธีการประเมิน • ใช้รูปแบบการประเมินที่เรียบง่าย คือประเมิน measurable element เป็น 3 ระดับ (met, partially met, not met) ทำนองเดียวกับของ JCI • การจำแนกออกมาเป็นข้อย่อยๆ ทำให้มองเห็นประเด็นพัฒนาได้ชัดเจนขึ้น • การประเมินเป็นข้อย่อยๆ ทำให้ระบุประเด็นใหญ่ๆ ที่ยังต้องพัฒนาได้ง่ายขึ้น • ผสมผสานความลุ่มลึกกับความชัดเจน • การประเมิน compliance ต่อข้อกำหนดซึ่งสามารถมองเห็นได้ชัดเจน ให้เป็นภาระของ รพ.และเครือข่ายที่ สรพ. รับรอง • การประเมินที่ลุ่มลึก สรพ.จะส่งเสริมให้เกิดสิ่งเหล่านี้ • ความเชื่อมโยงกับบริบทหรือความต้องการขององค์กร • การดำเนินการอย่างเป็นระบบ (systematic approach) • การประเมินระบบที่แสดงให้เห็นการบรรลุเป้าหมายของข้อกำหนด
(3) องค์กรจัดการกับคำร้องเรียนของผู้ป่วย / ผู้รับผลงานเพื่อให้มีการแก้ไขอย่างได้ผลและทันท่วงที. มีการรวบรวมและวิเคราะห์คำร้องเรียนเพื่อใช้ในการปรับปรุงทั่วทั้งองค์กร.
Provincial KMเพื่อธำรงการรับรองบันไดขั้นที่สอง
“ตารางเพื่อนช่วยเพื่อน” เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
Provincial KM: ใครจะได้ประโยชน์อะไร • สถานพยาบาลที่ยังไม่ได้รับการรับรองในบันไดขั้นที่สองสู่ HAจะเห็นแนวทางในการพัฒนาเพื่อเตรียมความพร้อมเพื่อการประเมินบันไดขั้นที่สองสู่ HA ได้ชัดเจนขึ้น • สถานพยาบาลที่ได้รับการรับรองในบันไดขั้นที่สองสู่ HAจะเห็นแนวทางในการพัฒนาต่อเนื่องสู่การรับรอง HA • สถานพยาบาลของรัฐที่ได้รับกิตติกรรมประกาศบันไดขั้นที่สองสู่ HA ซึ่งมีจำนวนเตียงที่เปิดดำเนินการจริงไม่เกิน 120 เตียง จะได้รับสิทธิในการธำรงบันไดขั้นที่สองสู่ HA โดยอัตโนมัติ ภายใต้ระบบการสุ่มเยี่ยมที่อาจเกิดขึ้นเมื่อใดก็ได้ • สถานพยาบาลที่ได้รับ HA แล้ว ได้ทบทวนตนเอง ได้เชื่อมโยงเครือข่ายและมีโอกาสเชื่อมโยงระบบให้ไร้รอยต่อยิ่งขึ้น
Provincial KM: เตรียมตัว • การเตรียมคน เลือกคนที่ใช่ คนที่ทำจริง • การประเมินตนเอง • ในแต่ละหมวด รอบแรกให้อ่านเนื้อหาอย่างคร่าวๆ แล้วระบุประเด็นที่ทีมงานทำได้โดดเด่นพร้อมที่จะแบ่งปันช่วยเหลือเพื่อน 2 ประเด็น (อยากช่วยเพื่อน) และประเด็นที่เป็นโอกาสพัฒนาอยากจะรับฟังประสบการณ์และความเห็นของเพื่อน รพ.อื่น 2 ประเด็น (อยากให้เพื่อนช่วย) • จากนั้นให้อ่านแต่ละหัวข้อย่อยแล้วประเมินว่า รพ.อยู่ตรงไหน ถ้าจะพัฒนาต่อควรทำอะไร • นำประเด็นที่จะพัฒนาต่อมาจัดลำดับความสำคัญรวมกับประเด็นที่อยากให้เพื่อนช่วยที่ระบุไว้ในช่วงแรก • ฝึกฝนการเป็น note taker ให้มีจำนวนมากที่สุด • ใช้หลักความเรียบง่าย คลายความกังวล • ไม่ต้องกังวลเรื่องการจัดทำเอกสาร ข้อความที่ไม่เข้าใจ การให้คะแนน
Program & Disease Specific Certificationการเปิดเวทีให้นำ Good Practice มาแบ่งปัน(ระบบงาน หรือระบบการดูแลผู้ป่วย)
ลักษณะสำคัญของระบบที่จะได้รับการรับรองลักษณะสำคัญของระบบที่จะได้รับการรับรอง • แสดงให้เห็นการจัดการกระบวนการ (process management) อย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์กระบวนการสำคัญที่ครอบคลุมทั้งสายธารแห่งคุณค่า (value stream) และใช้มาตรฐาน I-6 • แสดงให้เห็นผลลัพธ์ที่ดีถึงดีมาก และแนวโน้มที่ดีขึ้น มีการใช้ข้อมูลเทียบเคียงที่ท้าทาย • แสดงให้เห็นการประเมินและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ระบบงานที่มีบูรณาการ การสร้างนวัตกรรม และ/หรือ งานวิจัยจากงานประจำ หรือการสร้างองค์ความรู้ที่สำคัญ (EI3) • แสดงให้เห็นกระบวนการพัฒนาที่ขจัดความสูญเปล่า ป้องกันความเสี่ยง ใช้หลักฐานทางวิชาการ รวมถึงการสร้างเสริมสุขภาพ และมิติด้านจิตวิญญาณ (Waste, Safety, Standard, Spiritual, Health Pronmotion)
แผนงานใหม่ๆ ของ สรพ. • HA Plus • Program & Disease Specific Certification • Provincial KM เพื่อการธำรงบันไดขั้นที่สอง • THIP • Safety Innovation Link • SPHInX • SHA • Quality Learning Network