470 likes | 904 Views
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย (Data Communications and Networks) หน่วยที่ 7 ระบบเครือข่ายแลน (LAN) เอกสารอ้างอิง ปริญญา น้อยดอนไพร. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย http://www.freebsd.sru.ac.th/course/4012702-Data-Communication/parinya-book/unit-07.pdf.
E N D
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย (Data Communications and Networks) หน่วยที่ 7 ระบบเครือข่ายแลน (LAN) เอกสารอ้างอิง ปริญญา น้อยดอนไพร. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย http://www.freebsd.sru.ac.th/course/4012702-Data-Communication/parinya-book/unit-07.pdf โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V.2013.12.1
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเครือข่ายแลน (LAN) อีเธอร์เน็ต (Ethernet) โทเค็น (Token) เครือข่ายแลนเสมือน (Virtual LAN) หัวข้อเนื้อหาหลัก
วัตถุประสงค์ • อธิบายความหมาย องค์ประกอบ ประเภท มาตรฐาน และการประยุกต์ใช้เครือข่ายแลนได้ • อธิบายความหมาย การทำงาน และรูปแบบการเชื่อมต่อของอีเธอร์เน็ต และอีเธอร์เน็ตความเร็วสูงได้ • อธิบายความหมายและการทำงานของโทเค็น เทคโนโลยีเครือข่ายแลนแบบโทเค็นริงโทเค็นบัส และเอฟดีดีไอได้ • อธิบายแนวคิดและประโยชน์ของเครือข่ายแลนเสมือนได้
1.ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเครือข่ายแลน1.ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเครือข่ายแลน
ความหมายของเครือข่ายแลนความหมายของเครือข่ายแลน • องค์ประกอบของเครือข่ายแลน • ฮาร์ดแวร์ (Hardware) • ซอฟต์แวร์ (Software) • ประเภทของเครือข่ายแลน • เครือข่ายแลนแบบไคลเอนต์เซิร์ฟเวอร์ (Client/Server) • เครือข่ายแลนแบบเพียร์ทูเพียร์ (peer-to-peer) 1.1 ความหมาย องค์ประกอบ และประเภทของเครือข่ายแลน
โปรแกรมเมล์ไคลเอนต์ โปรแกรมเมล์เซิร์ฟเวอร์ บริการเมล์ บริการไฟล์ บริการพรินต์เซิร์ฟเวอร์ เซิร์ฟเวอร์ โปรแกรมไฟล์ไคลเอนต์ โปรแกรมพรินต์ไคลเอนต์ โปรแกรมไฟล์เซิร์ฟเวอร์ โปรแกรมพรินต์เซิร์ฟเวอร์ เครือข่ายแลนแบบไคลเอนต์เซิร์ฟเวอร์สถานีเดียว เครือข่ายแลนแบบไคลเอนต์เซิร์ฟเวอร์ (Client/Server)
โปรแกรมเมล์ไคลเอนต์ โปรแกรมเมล์เซิร์ฟเวอร์ เมล์เซิร์ฟเวอร์ พรินต์เซิร์ฟเวอร์ ไฟล์เซิร์ฟเวอร์ โปรแกรมไฟล์เซิร์ฟเวอร์ โปรแกรมพรินต์เซิร์ฟเวอร์ โปรแกรมพรินต์ไคลเอนต์ โปรแกรมไฟล์ไคลเอนต์ เครือข่ายแลนแบบไคลเอนต์เซิร์ฟเวอร์หลายสถานีเดียว แบบที่ 1 เครือข่ายแลนแบบไคลเอนต์เซิร์ฟเวอร์ (Client/Server)
โปรแกรมไฟล์เซิร์ฟเวอร์โปรแกรมไฟล์เซิร์ฟเวอร์ โปรแกรมพรินต์ไคลเอนต์ สถานี B สถานี C สถานี A สถานี D สถานี E สถานี F โปรแกรมพรินต์เซิร์ฟเวอร์ โปรแกรมไฟล์ไคลเอนต์ เครือข่ายแลนแบบไคลเอนต์เซิร์ฟเวอร์หลายสถานีเดียว แบบที่ 2 (P2P) เครือข่ายแลนแบบไคลเอนต์เซิร์ฟเวอร์ (Client/Server)
ตารางแสดงมาตรฐานเครือข่ายแลนในโครงการ 802 มาตรฐานเครือข่ายแลน ที่มา: Gary B Shelly and Thomas J.Cashman, 2001: 125
มาตรฐาน IEEE แบบจำลอง OSI Upper Layer Upper Layer Logical Link Control (LLC) Data Link Layer MediaAccessControl (MAC) Physical Layer Physical Layer ช่องทางสื่อสาร (Transmission Medium) การเปรียบเทียบมาตรฐานเครือข่ายแลนโครงการ 802 กับแบบจำลองของ OSI มาตรฐานเครือข่ายแลน (ต่อ)
การประยุกต์เครือข่ายแลนด้านธุรกิจการประยุกต์เครือข่ายแลนด้านธุรกิจ การประยุกต์เครือข่ายแลนด้านอุตสาหกรรม การประยุกต์เครือข่ายแลนด้านการศึกษา การประยุกต์เครือข่ายแลนด้านสาธารณสุข การประยุกต์เครือข่ายแลนด้านการเงิน การประยุกต์ใช้งานเครือข่ายแลน
1.จงอธิบายความหมายของเครือข่ายแลน1.จงอธิบายความหมายของเครือข่ายแลน 2.องค์ประกอบที่สำคัญของการเชื่อมต่อเครือข่ายแลนคืออะไร 3.จงอธิบายความแตกต่างของเครือข่ายแลนแบบไคลเอนต์เซิร์ฟเวอร์และเครือข่ายแลนแบบเพียร์ทูเพียร์ 4.หน่วยงานใดเป็นผู้กำหนดมาตรฐานเครือข่ายแลน และเพราะเหตุใดจึงต้องมีการกำหนดมาตรฐานของเครือข่ายแลน 5.หน่วยงาน IEEE แบ่งชั้นดาต้าลิงค์ ออกเป็นกี่ชั้นย่อย อะไรบ้าง 6.เครือข่ายแลนสามารถนำมาประยุกต์ใช้ด้านใดได้บ้าง 7.ธุรกิจด้านอื่นๆ ด้านใดบ้างที่สามารถนำเครือข่ายแลนไปประยุกต์ใช้งานได้ กิจกรรมที่ 1
วิธีการเข้าใช้ตัวกลางของอีเธอร์เน็ตวิธีการเข้าใช้ตัวกลางของอีเธอร์เน็ต • การตรวจจับสัญญาณ (Carrier Sense) • การตรวจสอบการชนกันของข้อมูล (Collision Detection) 2.1 รูปแบบการเชื่อมต่ออีเธอร์เน็ต
ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล เทอร์มิเนเตอร์ เทอร์มิเนเตอร์ ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล สถานี B สถานี A สถานี C การตรวจจับสัญญาณ (Carrier Sense) 2.1 รูปแบบการเชื่อมต่ออีเธอร์เน็ต
เกิดการชนกัน (collision) ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล เทอร์มิเนเตอร์ เทอร์มิเนเตอร์ ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล สถานี B สถานี A สถานี C การตรวจสอบการชนกันของข้อมูล (Collision Detection) 2.1 รูปแบบการเชื่อมต่ออีเธอร์เน็ต
ประเภทของมาตรฐานการเชื่อมต่ออีเธอร์เน็ตประเภทของมาตรฐานการเชื่อมต่ออีเธอร์เน็ต • อีเธอร์เน็ตแบบ 10Base5 • อีเธอร์เน็ตแบบ 10Base2 • อีเธอร์เน็ตแบบ 10Base-T • อีเธอร์เน็ตแบบ 10Base-FL 2.1 รูปแบบการเชื่อมต่ออีเธอร์เน็ต
อีเธอร์เน็ตแบบ 10Base5 2.1 รูปแบบการเชื่อมต่ออีเธอร์เน็ต ที่มา: http://pre.docdat.com/docs/index-120424.html
หัวต่อรูปตัวที (T-connector) การ์ดเครือข่ายพร้อมด้วยหัวต่อแบบบีเอ็นซี สายโคแอ็กเชียล อีเธอร์เน็ตแบบ 10Base2 2.1 รูปแบบการเชื่อมต่ออีเธอร์เน็ต ที่มา: http://wozney.ca/2008/06/12/transformations-of-networking-part-1/
เชื่อมต่อด้วยสาย UTP ปลายสายทั้งสองด้านใช้ RJ-45 ฮับ (Hub) อีเธอร์เน็ตแบบ 10Base-T 2.1 รูปแบบการเชื่อมต่ออีเธอร์เน็ต
ฮับอีเธอร์เน็ต ใยแก้วนำแสง สายสัญญาณ ทรานซีฟเวอร์ ทรานซีฟเวอร์เชื่อมต่อภายนอก อีเธอร์เน็ตแบบ 10Base-FL 2.1 รูปแบบการเชื่อมต่ออีเธอร์เน็ต
ฟาสต์อีเธอร์เน็ต (Fast Ethernet) • ฟาสต์อีเธอร์เน็ตแบบ 100Base-TX • ฟาสต์อีเธอร์เน็ตแบบ 100Base-FX • ฟาสต์อีเธอร์เน็ตแบบ 100Base-T4 • กิกะบิตอีเธอร์เน็ต (Gigabit Ethernet) • กิกะบิตอีเธอร์เน็ตแบบ 1000Base-SX • กิกะบิตอีเธอร์เน็ตแบบ 1000Base-LX • กิกะบิตอีเธอร์เน็ตแบบ 1000Base-CX • กิกะบิตอีเธอร์เน็ตแบบ 1000Base-T 2.2 อีเธอร์เน็ตความเร็วสูง
เชื่อมต่อด้วยสาย UTP ปลายสายทั้งสองด้านใช้ RJ-45 ฮับอีเธอร์เน็ตแบบ 100Base-TX ฟาสต์อีเธอร์เน็ตแบบ 100Base-TX 2.2 อีเธอร์เน็ตความเร็วสูง ฟาสต์อีเธอร์เน็ต (Fast Ethernet)
ฮับอีเธอร์เน็ต ใยแก้วนำแสง สายสัญญาณ ทรานซีฟเวอร์ ทรานซีฟเวอร์เชื่อมต่อภายนอก ฟาสต์อีเธอร์เน็ตแบบ 100Base-FX 2.2 อีเธอร์เน็ตความเร็วสูง ฟาสต์อีเธอร์เน็ต (Fast Ethernet)
เชื่อมต่อด้วยสาย UTP ปลายสายทั้งสองด้านใช้ RJ-45 ฮับอีเธอร์เน็ตแบบ 100Base-T4 ฟาสต์อีเธอร์เน็ตแบบ 100Base-T4 2.2 อีเธอร์เน็ตความเร็วสูง ฟาสต์อีเธอร์เน็ต (Fast Ethernet)
กิกะบิตอีเธอร์เน็ต (Gigabit Ethernet) • กิกะบิตอีเธอร์เน็ตแบบ 1000Base-SX • กิกะบิตอีเธอร์เน็ตแบบ 1000Base-LX • กิกะบิตอีเธอร์เน็ตแบบ 1000Base-CX • กิกะบิตอีเธอร์เน็ตแบบ 1000Base-T 2.2 อีเธอร์เน็ตความเร็วสูง กิกะบิตอีเธอร์เน็ต (Gigabit Ethernet)
1.อีเธอร์เน็ตคืออะไร 2.มาตรฐานการเชื่อมต่ออีเธอร์เน็ตแบ่งออกเป็นกี่แบบ 3.ฟาสต์อีเธอร์เน็ตมีอัตราความเร็วในการรับส่งข้อมูลเท่าใด 4.มาตรฐานการเชื่อมต่อของฟาสต์อีเธอร์เน็ตแบ่งออกเป็นกี่แบบ 5.กิกะบิตอีเธอร์เน็ตมีอัตราความเร็วในการรับส่งข้อมูลเท่าใด 6.มาตรฐานการเชื่อมต่อของกิกะบิตอีเธอร์เน็ตแบ่งออกเป็นกี่แบบ กิจกรรมที่ 2
การส่งผ่านโทเค็น คือ กลไกควบคุมการรับส่งข้อมูลเพื่อไม่ให้เกิดการชนกันของเฟรมข้อมูล โดยโทเค็นมีลักษณะเป็นเฟรมขนาดเล็กที่ถูกส่งไปยังแต่ละสถานีในลักษณะเวียนเป็นวงแหวนตามลำดับ สถานีใดต้องการส่งข้อมูลต้องรอคอยการครอบครองโทเค็น สถานีใดที่ได้รับโทเค็นจะมีสิทธิ์ในการส่งข้อมูลหนึ่งเฟรมหรือมากกว่า จนกว่าข้อมูลที่ส่งหมด หลังจากนั้นสถานีนั้นจะปล่อยโทเค็นเพื่อให้สถานีอื่นที่อยู่ถัดไป หลักการส่งผ่านโทเค็น (Token Passing)
โทเค็น สถานี B สถานี D สถานี F 18 15 9 เทอร์มิเนเตอร์ 8 10 12 เทอร์มิเนเตอร์ สถานี E สถานี C สถานี A IEEE 802.3 -> IEEE 802.4 A copper coaxial cableand Transmission speeds with data rates of 1, 5 and 10 Mbps 3.1 โทเค็นบัส (Token Bus)
3.2 โทเค็นริง (Token Ring) • Token Ring is described in the IEEE 802.5 specification (IBM) • Token Ring comes in standard 4 and 16 Mbps and high-speed Token Ring at 100Mbps (IEEE 802.5t) and 1Gbps (IEEE 802.5v) MAUs (Multi-Station Access Units)
สถานีที่สามารถเชื่อมต่อเข้ากับ FDDI แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ SAS (Single Attachment Station)เป็นสถานีที่เขื่อมต่อเครือข่ายวงแหวนเดียว หากสถานีประเภทนี้ชำรุดหรือมีการปิดเครื่องจะไม่มีผลการะทบต่อระบบเครือข่าย DAS (Data Attachment Station)เป็นสถานีที่เชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายวงแหวนทั้งสองวง หากมีการเปลี่ยนแปลงสถานะของสถานีประเภทนี้ จะส่งผลกระทบต่อการทำงานของเครือข่ายทั้งระบบ DAC (Dual Attachment Concentrator)เป็นสถานีที่เชื่อมต่อเข้ากับวงแหวนทั้งสองวง ทำหน้าที่แทนสถานีประเภท SAS ในการรับส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย หากสถานี SAS ไม่สามารถทำงานได้จะไม่ส่งผลต่อระบบทั้งหมด 3.3 เอฟดีดีไอ (FDDI)
1.จงอธิบายความหมายและหลักการทำงานของโทเค็นบัส1.จงอธิบายความหมายและหลักการทำงานของโทเค็นบัส 2.จงอธิบายวิธีการเข้าใช้ตัวกลางแบบการส่งผ่านโทเค็น 3.จงอธิบายความหมายและหลักการทำงานของโทเค็นริง 4.จงอธิบายข้อดีและข้อเสียของโทเค็นริง 5.จงอธิบายความหมายของเครือข่าย FDDI 6.สถานีที่เชื่อมต่อเข้ากับ FDDI มีกี่ประเภท อะไรบ้าง กิจกรรมที่ 3
4. เครือข่ายแลนเสมือน (VIRTUAL LAN: VLAN)
เครือข่ายแลนเสมือน (Virtual Area Network: VLAN) หมายถึง เครือข่ายแลนจำลองย่อยที่ถูกสร้างภายใต้เครือข่ายแลนจริง ทำให้กลุ่มของคอมพิวเตอร์ สามารถเชื่อมโยงกันเป็นกลุ่มย่อยภายใต้ระเบียบการทำงานและนโยบายด้านการรักษาความปลอดภัยเดียวกัน เครือข่ายแลนเสมือนถูกสร้างขึ้นด้วยการใช้ซอฟต์แวร์เข้ามาจัดการ แนวคิดของเครือข่ายแลนเสมือน
สวิตช์ สวิตช์ สวิตช์ ฮับที่ 1 ฮับที่ 3 ฮับที่ 2 สถานี สถานี สถานี สถานี สถานี สถานี เครือข่ายย่อยที่ 1 เคือข่ายย่อยที่ 3 สถานี สถานี สถานี เครือข่ายย่อยที่ 2 เครือข่ายแลนที่ประกอบด้วยเครือข่ายย่อย จำนวน 3 เครือข่าย
สวิตช์ สวิตช์ สวิตช์ ฮับที่ 1 ฮับที่ 3 เครือข่ายแลนเสมือนที่ 1 ฮับที่ 2 สถานี สถานี สถานี สถานี สถานี สถานี เครือข่ายแลนเสมือนที่ 2 สถานี สถานี สถานี เครือข่ายแลนเสมือน
Port-Based VLANs MAC-Based VLANs IP Address-Based VLANs การจัดกลุ่มในเครือข่ายแลนเสมือน
การเพิ่มประสิทธิภาพของระบบเครือข่ายการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบเครือข่าย ง่ายต่อการจัดการหรือปรับเปลี่ยนระบบเครือข่าย เพิ่มความปลอดภัยให้กับระบบเครือข่าย ประโยชน์ของเครือข่ายแลนเสมือน
1.จงอธิบายความหมายของเครือข่ายแลนเสมือน1.จงอธิบายความหมายของเครือข่ายแลนเสมือน 2.การกำหนดกลุ่มเครือข่ายแลนเสมือนสามารถใช้ค่าใดเป็นตัวกำหนดได้ 3.เครือข่ายแลนเสมือนมีประโยชน์อย่างไรบ้าง 4.เพราะเหตุใดเครือข่ายแลนเสมือนจึงทำให้ระบบเครือข่ายแลนมีความปลอดภัย กิจกรรมที่ 4
กฤตศิลป์ บุรัมยากร. ระบบเครือข่าย LAN Local Area Network.กรุงเทพฯ: เพียร์สันเอ็ดดูเคชั่นอินโดไชน่า, 2547. จตุชัย แพงจันทร์ และอนุโชค วุฒิพรพงษ์. เจาะระบบ network ฉบับสมบูรณ์.กรุงเทพฯ: ไอดีซี, 2546. จักกริช พฤษการ. การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์.กรุงเทพฯ: ท้อป, 2549. วิรินทร์ เมฆประดิษฐ์สิน. คัมภีร์ระบบเครือข่าย: แบบฉบับอาจารย์วิรินทร์.กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2547. สัลยุทธ์ สว่างวรรณ. เครือข่ายคอมพิวเตอร์.กรุงเทพฯ: เพียร์สันเอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า, 2547. สุธี พงศาสกุลชัย และณรงค์ ล่ำดี. การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย.กรุงเทพฯ: เคทีพี คอมพ์แอนด์คอนซัลท์, 2551. อนันต์ ผลเพิ่ม. แลนไร้สาย.กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2550. อรวรรณ วงศ์แก้วโพธิ์ทอง. เอกสารการสอนชุดวิชาการสื่อสารข้อมูลและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์.นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553. โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร (ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม).กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2552. บรรณานุกรม
Allied Telesis. Retrieved on 1 April, 2013 from http://alliedtelesis.com/manuals/ AWPLUSV224CLIa1/port_ based_VLANs_overview.html Behrouz A. Forouzan. Data Communications and Networking. 4nd edition. United States : McGraw-Hill, 2007. Building a 10BASE5 "Thick Ethernet" network. (2012). Retrieved on 10 March, 2013 from http://tech.mattmillman.com/10base5/ Ethernet Standards. Retrieved on 5 March, 2013 from http://pre.docdat.com/docs/index-120424.html Gary B Shelly and Thomas J.Cashman. (2001). Business Data Communications. Introductory Concepts and Techniques 3th edition. Australia: Course Technology/Thomson Learning. Introducing FDDI. Retrieved on 1 April, 2013 from http://techpubs.sgi.com/ library/dynaweb_docs/0530/SGI_Admin/books/FDDIX_AG/sgi_html/ch01.html Military Library. (2013). Retrieved on 10 March, 2013 from http://www.globalsecurity.org/ military/library/ policy/army/fm/24-7/ch2.htm TP-Link TG-3269 Rev. 3.0 PCI Network Interface Card. (2013). Retrieved on 5 March, 2013 from http://www.ebay.ie /itm/TP-Link-TG-3269-Rev-3-0-PCI-Network-Interface-Card-/230879354667 William Stallings. Data and Computer Communications. 8th Edition. United States : Pearson Prentice Hall, 2007. Wozney Enterprises Ltd. (2008). Retrieved on 10 March, 2013 from http://wozney.ca/ 2008/06/12/transformations-of-networking-part-1/ บรรณานุกรม (ต่อ)