621 likes | 1.15k Views
เครื่องมือ และ วิธีการเก็บข้อมูล. รองศาสตราจารย์ บำเพ็ญ เขียวหวาน สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์. ประเภทของเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล. สอบถาม สัมภาษณ์ สังเกต ทดสอบ เครื่องมือและเทคนิคอื่นๆ -AIC - บัตรคำ - แผนที่ภาคตัดขวาง -PRA -เวทีพูดคุย - vein diagram
E N D
เครื่องมือ และวิธีการเก็บข้อมูล รองศาสตราจารย์ บำเพ็ญ เขียวหวาน สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์
ประเภทของเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลประเภทของเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล • สอบถาม • สัมภาษณ์ • สังเกต • ทดสอบ • เครื่องมือและเทคนิคอื่นๆ -AIC -บัตรคำ - แผนที่ภาคตัดขวาง -PRA -เวทีพูดคุย - vein diagram -RRA - mind map ฯลฯ
เรื่อง สร้างข้อคำถาม ประเด็นปัญหา ตรวจสอบ วัตถุประสงค์ ทดลองใช้ กรอบแนวคิด แก้ไข ปรับปรุง กำหนดตัวแปร มาตรวัด (ถ้ามี) ตัวบ่งชี้ การสร้างเครื่องมือ เครื่องมือ
จำเป็นต้องรู้ • ควรรู้ • น่าจะรู้ • รู้ข้อมูลอะไร? • รู้ไปทำไม? • รู้ได้อย่างไร?
ชุดคำถามพื้นฐานเพื่อการวิจัยชุดคำถามพื้นฐานเพื่อการวิจัย ?? ? ใคร? ทำอะไร? เมื่อไร? ทำทำไม? ทำอย่างไร? ผลอย่างไร? ควรเป็นอย่างไร?
ประเภทข้อมูลดิบ • ข้อเท็จจริง (FACT) อายุเท่าไร? สมาชิก? …มี 1 คำตอบที่ถูก • ความเห็น (OPINION) เรื่องส่วนบุคคล งานเสร็จไหม? สำเร็จอย่างไร? ....(ต้องถามหลายๆ คนเพื่อยืนยัน ถามเหตุผลด้วย) เพื่อให้opinion เป็น fact • ความคาดหวัง (EXPECTATION)คาดว่าสิ่งที่น่าจะเกิดขึ้นเป็นอย่างไร .....คาดการณ์ • ความปรารถนา (DESIRE)คน ต้องการ ให้เกิดในอนาคต (เหมาะนำไปทำแผน) แต่อาจเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
คุณสมบัติของข้อมูลที่ดีคุณสมบัติของข้อมูลที่ดี • มีความถูกต้องแม่นยำ (ACCURACY) • มีความทันเวลา (TIMELINESS) • มีความสมบูรณ์ครบถ้วน (COMPLETENESS) • มีความกะทัดรัด (CONCISENESS) • ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ (RELEVANCY) • สามารถเปรียบเทียบได้ (COMPARISON)
เลือกวิธีการเก็บข้อมูลเลือกวิธีการเก็บข้อมูล • วัตถุประสงค์การศึกษา /การใช้ประโยชน์ /จำนวนข้อมูลที่ต้องการ • คุณสมบัติของประชากรศึกษา • ระยะเวลาที่ศึกษา • ความเป็นไปได้ด้านกำลังคน • ความเป็นไปได้ด้านทรัพยากร • สภาพแวดล้อม สอบถาม สัมภาษณ์ สังเกต ทดลอง เวทีพูดคุย เครื่องมืออื่นๆ (RRA PRA AIC….)
โจทย์ต่างกัน อาจจะมีการออกแบบวิธีการ หาคำตอบที่ต่างกัน (บางประเด็นอาจใช้หลายวิธีการ)
ดูความ สอดคล้องกับบริบท ดูความเป็นไปได้ ของข้อสังเกตอื่นๆ ผู้วิจัย ต่างวิธีการเก็บ เทคนิคสามเส้า Triangular ทวนความ คำตอบ ต่างระยะเวลา ต่างแหล่งข้อมูล ต่าง…… ต่างสถานที่ การตรวจสอบ ความถูกต้อง-เชื่อถือของข้อมูล
สังเกตผู้ให้ข้อมูล • สภาพแวดล้อม ตาดู • เชื่อมโยง • ต่อเนื่อง • สมเหตุ สมผล สมองคิด • ชวนคุย ซักถาม • กระตุ้น • ทวนความคำตอบ ปากถาม • ตั้งใจ ตอบรับ • สนใจ หูฟัง มือเขียน • บันทึก • สรุป • จับประเด็น สิ่งควรปฏิบัติในการเก็บข้อมูล
การสังเกต 1. การสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participant Ob.) การสังเกตภาค สนาม (Field Ob.) • เข้าไปใช้ชีวิติกับกลุ่มคนที่ถูกศึกษา • ร่วมทำกิจกรรมด้วยกัน • พยายามให้คนในยอมรับว่าผู้สังเกตมีสถานภาพ บทบาท เช่นเดียวกับตน กระบวนการ---สังเกต---ซักถาม(โดยเฉพาะข้อมูลความหมาย)---บันทึก • การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (Non-Participant Ob.) • นักวิจัย สังเกตอยู่วงนอก • ไม่เข้าไปร่วมในชีวิต/ กิจกรรม
การสัมภาษณ์ • การสัมภาษณ์รายบุคคล (Individual Interview) • การสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลัก (Key Information Interview) บุคคลที่มีคุณสมบัติพิเศษ รอบรู้ข้อมูลต่างๆ • สัมภาษณ์แบบกลุ่ม/ สนทนากลุ่ม (Group Interview /Focus Group) 7-10 คนประชุม ซักถาม ผู้เก็บข้อมูล จุดประเด็น ให้เกิดการพูดคุย ถามความรู้สักนึกคิด ข้อมูลเชิงคุณภาพ • การตะล่อมกล่อมเกลา (Probe) ซักถามล้วงเอาความคิด ความจริง (รายรับ รายจ่าย ปัญญา..) ใช้เทคนิค (ตำรวจ ทนาย) อาจรุกผู้ตอบโดยใช้การสมมุติ สรุปความ ดูปฏิกิริยา
สังเกตอะไร • การกระทำ การใช้ชีวิต การกระทำ พฤติกรรม • แบบแผนการกระทำ การกระทำ พฤติกรรมที่เป็นขั้นตอน/ต่อเนื่อง จนเป็นแบบแผน (วิธีการเพาะปลูก ขนบธรรมเนียม...) • ความหมาย การให้ความหมายแก่การกระทำหรือพฤติกรรมนั้น • ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล กลุ่ม • การมีส่วนร่วมในกิจกรรม • สภาพสังคม สภาพงานสนามที่นักวิจัยใช้เป็นพื้นที่ศึกษา
ประเด็นการสัมภาษณ์ (Interview Schedule) • การก่อเกิด กลุ่ม พัฒนาการ • สมาชิก ผู้นำ มีเท่าใด? เป็นใคร? • วัตถุประสงค์ กฎเกณฑ์ กิจกรรมกลุ่มมีอะไร? แผนกลุ่ม? • ทรัพยากรกลุ่ม และแหล่งสนับสนุนจากที่ใด? • จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส อุปสรรค ของกลุ่มมีอะไร? • อยากเห็นกลุ่มเป็นอย่างไร? ในอนาคต • ฯลฯ
บันทึก (Field notes) บันทึกข้อมูลจากการสังเกต บันทึกย่อไม่โจ่งแจ้ง เป็นธรรมชาติไม่ให้สะดุด บันทึกภาคสนามมักทำภายหลังไม่ควรทิ้งไว้หลายวันจะลืม
แบบบันทึก การสังเกต(การจัดเวทีทำแผนชุมชน)
ความถี่ ผู้นำ อย่างไร ความถี่ ปัญหา ใคร อย่างไร แค่ไหน อย่างไร แนวทางแก้ไข บันทึกโดยMindMap การมีส่วนร่วม จัดการทรัพยากร
บันทึกการปฏิบัติการ และบทวิเคราะห์เบื้องต้น วิเคราะห์– สังเคราะห์ วันที่ ............ ผู้ร่วมวิเคราะห์ ......................................
ตัวอย่างเครื่องมือเก็บข้อมูลตัวอย่างเครื่องมือเก็บข้อมูล
อาหารพื้นบ้าน เช่น กุ้งสวรรค์ ผักพื้นบ้าน ผักป่า ข้าวเหนียวดำ • แหล่งท่องเทียวประเภทมีตำนาน • ชุมชนมั่นยืน ในบ้านเรา มีอะไรอยู่บ้าง งานหัตถกรรมในหมู่บ้าน การทำชุดน้ำตกจากตอไม้ ความรู้ - เรื่องสมุนไพร - ล่องรอยสัตว์ป่า ทักษะ - การนวด - ยาสมุนไพร • แหล่งท่องเทียวประเภทธรรมชาติ / สวยงาม • น้ำตกเทพพนา • ผาหินงาม • ลานบันเทิงใจ • ผาน้ำย้อย • ซับเสม็ดหรือสนามบิน (แปลกตา) • ทุ่งดอกกระเจียว • น้ำตกเทพทองคำ • น้ำตกเทพประทาน (มีตำนาน) • วังภารดร (รีสอร์ท)
เทคนิคในการกำหนด ข้อคำถามงานวิจัย
การกำหนดข้อมูลที่ต้องการการกำหนดข้อมูลที่ต้องการ 1.พิจารณาจากวัตถุประสงค์ของการวิจัยแต่ละข้อ เพื่อทราบว่าต้องการข้อมูลอะไร มีตัวแปรอะไรบ้างที่ต้องนำมาพิจารณา 2.แยกวัตถุประสงค์ของการวิจัยออกเป็นประเด็นย่อยๆให้มากที่สุด ( ขึ้นกับการตรวจเอกสาร) 3.นำประเด็นที่แยกออกมาทำเป็นแผนผังก้างปลา เพื่อนำไปกำหนดเป็นข้อคำถาม
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาผลการดำเนินการตามวัตถุประสงค์โครงการ 2. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จและปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินงานพร้อมข้อเสนอแนะในการพัฒนางานให้บรรลุวัตถุประสงค์โครงการ 3. เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในโครงการ 4 . เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนางานให้บรรลุวัตถุประสงค์โครงการ
1. ผลการดำเนินการตามวัตถุประสงค์โครงการ 1) ร้อยละครัวเรือนยากจนที่ได้รับการยกระดับรายได้เฉลี่ยมากกว่า 1,230 บาท/คน/เดือน (พ้นเส้นความยากจน) 2) การปรับทัศนะและเพิ่มขีดความสามารถของคนจนในการแก้ไขความยากจนไปสู่ 3 พ (เศรษฐกิจ/ ความสุข /ครอบครัวอบอุ่นพอเพียง) 3) บทบาทและการมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ปัญหาสังคมและความยากจนด้วยกระบวนการแผนชุมชน 2. ระดับความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องในโครงการ 3. ข้อเสนอแนะและปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จ 4. จำนวนครัวเรือนยากจนที่ผ่านเกณฑ์ จปฐ ข้อ 19 ครอบครัวอบอุ่น 5 จำนวนครัวเรือนผ่านเกณฑ์อย่างน้อย 26 ข้อ 6. จำนวนครัวเรือนเป็นสมาชิกกลุ่มเศรษฐกิจชุมชน • กิจกรรม/วิธีดำเนินงานโครงการ • 1. กระบวนการแผนชุมชน (inside out) • 2. ปฏิบัติการแก้จนแบบเข้าถึงทุกครัวเรือน (outside in) • 3. สนับสนุนกิจกรรมเพิ่มรายได้ • 4. ประชาสัมพันธ์ • 5. ติดตามประเมินผล • วัตถุประสงค์โครงการ • ทรัพยากร ปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายนอก ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ ผลลัพธ์ กรอบแนวคิด ช่วงระหว่างดำเนินโครงการ
สร้างแผนผังแสดงองค์ประกอบของวัตถุประสงค์สร้างแผนผังแสดงองค์ประกอบของวัตถุประสงค์ องค์ประกอบที่ 1 วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 องค์ประกอบที่ 2 องค์ประกอบที่ 3 วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 องค์ประกอบที่ 4 องค์ประกอบที่ 5
ผังก้างปลาแสดงตัวชี้วัดของปัจจัยนำเข้าผังก้างปลาแสดงตัวชี้วัดของปัจจัยนำเข้า ความเข้าใจในวัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์โครงการ ความเหมาะสมของวัตถุประสงค์ ปัจจัยนำเข้า ความพอเพียง งบประมาณ ความทันเวลา
ผังก้างปลาแสดงตัวชี้วัดของกระบวนการผังก้างปลาแสดงตัวชี้วัดของกระบวนการ การจัดทำแผนชุมชน การจัดทำแผนชุมชนเป็นลายลักษณ์อักษร กระบวนการแผนชุมชน การนำกิจกรรมที่กำหนดในแผนไปใช้ในการแก้ปัญหาความยากจน ปฏิบัติการแก้จนแบบเข้าถึงทุกครัวเรือน กระบวนการ สนับสนุนกิจกรรมเพิ่มรายได้ ประชาสัมพันธ์ ติดตามประเมินผล
ผังก้างปลาแสดงตัวชี้วัดผลลัพธ์ผังก้างปลาแสดงตัวชี้วัดผลลัพธ์ ผลจากการดำเนินการ ตามวัตถุประสงค์โครงการ ข้อที่ 1 ร้อยละครัวเรือนยากจนที่ได้รับการยกระดับรายได้เฉลี่ยมากกว่า 1,230 บาท/คน/เดือน (พ้นเส้นความยากจน) การปรับทัศนะและเพิ่มขีดความสามารถของคนจนในการแก้ไขความยากจนไปสู่ 3 พ (เศรษฐกิจ/ ความสุข /ครอบครัวอบอุ่นพอเพียง) บทบาทและการมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ปัญหาสังคมและความยากจนด้วยกระบวนการแผนชุมชน ฯลฯ
ภูมิปัญญาแกงส้ม ..... เผยแพร่คนยอมรับ เลื่องลือเป็นอาหารดัง ในท้องถิ่น เอาเครื่องแกง องค์ประกอบ โขลกผสมลงหม้อแกง รู้และไปหา วัตถุดิบ พริก ตะไคร้ ผัก ปลาฯลฯ วิเคราะห์~สังเคราะห์ ได้ แกงส้มที่อร่อย คนทั่วไปรู้จัก ทำได้ดีมีฝีมือ ได้ แกงส้ม สังเคราะห์ Synthesis รู้องค์ประกอบ ของแกงส้ม ได้ วิเคราะห์ Analysis วัตถุประสงค์ แกงส้ม
ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล (การวิจัยเชิงคุณภาพ) 1. การสร้างกรอบแนวคิด สำหรับการวิเคราะห์ • ขั้นก่อนเริ่มเก็บรวบรวมข้อมูล • ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล • ขั้นการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อสร้างบทสรุป 2. การตรวจสอบข้อมูล • การตรวจสอบเพื่อหาความเชื่อถือได้ของข้อมูล • การตรวจสอบเพื่อดูความครบถ้วนและคุณภาพของข้อมูล • ข้อมูลที่เป็นความคิดเห็น หรือทัศนะของผู้ถูกสัมภาษณ์ • ข้อมูลที่เป็นการให้รายละเอียด หรือ เล่าเหตุการณ์ (descriptive data)
ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล (การวิจัยเชิงคุณภาพ) (ต่อ) 3. การจดบันทึกข้อมูล(note taking) • ทั้งขณะที่ตรวจสอบข้อมูลและหลังตรวจสอบข้อมูล 4. การจัดแฟ้มข้อมูล(Establishing Files) • แฟ้มจิปาถะ หรือสำหรับข้อมูลทั่วๆ ไป (Background Files) • แฟ้มการวิเคราะห์เบื้องต้น (Analysis Files) • แฟ้มงานสนาม (Fieldwork Files)
ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล (การวิจัยเชิงคุณภาพ) (ต่อ) 5 การทำดัชนีข้อมูล(Indexing) 6 การทำข้อมูลสรุปชั่วคราว 7 การสร้างบทสรุปและการพิสูจน์บทสรุป • การสร้างบทสรุป • การพิสูจน์บทสรุป