1 / 61

การช่วยกู้ชีพทารกแรกเกิด Neonatal Resuscitation:2010 AHA NCPR 6 TH edition

การช่วยกู้ชีพทารกแรกเกิด Neonatal Resuscitation:2010 AHA NCPR 6 TH edition. พญ.สุดารัตน์ ศิริชัยพรศักดิ์ กุมารแพทย์ รพ.วานรนิวาส จ.สกลนคร 7-8 ธันวาคม 2554. ปัญหาการขาดออกซิเจนตั้งแต่แรกเกิดพบประมาณ 23 % ของทารกที่เสียชีวิต ทั้งหมด 4 ล้านคนในแต่ละปีทั่วโลก

manton
Download Presentation

การช่วยกู้ชีพทารกแรกเกิด Neonatal Resuscitation:2010 AHA NCPR 6 TH edition

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การช่วยกู้ชีพทารกแรกเกิดNeonatal Resuscitation:2010 AHANCPR 6TH edition พญ.สุดารัตน์ ศิริชัยพรศักดิ์ กุมารแพทย์ รพ.วานรนิวาส จ.สกลนคร 7-8 ธันวาคม 2554

  2. ปัญหาการขาดออกซิเจนตั้งแต่แรกเกิดพบประมาณ 23 % ของทารกที่เสียชีวิต ทั้งหมด 4 ล้านคนในแต่ละปีทั่วโลก ทารกคนใดที่ต้องการการช่วยกู้ชีพ • 90% หายใจได้เองและเปลี่ยนแปลงระบบการไหลเวียนโลหิตมาสู่ภาวะหลังเกิดได้ • 10% ต้องการการช่วยเหลือเพียงเล็กน้อย • 1% ที่ต้องการการกู้ชีพ

  3. ประเมินความเสี่ยงของทารกต่อความต้องการการช่วยกู้ชีพ การให้ความอบอุ่น การจัดท่าศีรษะ และเปิดทางเดินหายใจให้โล่ง การเช็ดตัวให้แห้ง และการกระตุ้นให้หายใจ การช่วยเหลือที่ทารกต้องการเสมอ การให้ออกซิเจนตามความจำเป็น การช่วยเหลือที่ทารกต้องการไม่บ่อย การช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก การใส่ท่อช่วยหายใจ การช่วยเหลือที่ทารกแทบไม่ต้องการ (ต้องการนาน ๆ ครั้ง การกดหน้าอก การให้ยา

  4. American Heart Association (AHA) 2010 • ในผู้ใหญ่การช่วยกู้ชีพให้เริ่มจากการกดหน้าอกก่อนช่วยหายใจ (C-A-B แทน A-B-C) • ในทารกแรกเกิด สาเหตุของการที่ทารกมีอาการแย่มักจะเกิดจากปัญหาด้านการหายใจ ดังนั้นในทารกการช่วยเหลือต้องให้ความสำคัญกับการดูแลทางเดินหายใจและการช่วยหายใจ แนะนำให้ใช้ A-B-C

  5. ขั้นตอนของการช่วยกู้ชีพทารกแรกเกิดขั้นตอนของการช่วยกู้ชีพทารกแรกเกิด ประกอบด้วย A. ขั้นตอนเบื้องต้น (initial steps) * ให้ความอบอุ่น * จัดท่าศีรษะ ทำให้ทางเดินหายใจโล่ง และดูดเสมหะตามความจำเป็น * เช็ดตัวและให้การกระตุ้นโดยการสัมผัส เพื่อให้ทารกหายใจ * ประเมินการหายใจ อัตราการเต้นของหัวใจ และระดับออกซิเจน B. การช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกและให้ออกซิเจนและติดเครื่องวัดค่าความอิ่มตัวออกซิเจน C. การกดหน้าอกพร้อมให้การช่วยหายใจและใส่สายสวนหลอดเลือดสะดือ D. ให้ยา epinephrine พร้อมให้การช่วยหายใจและการกดหน้าอก

  6. ความผิดปกติอะไรที่อาจเกิดขึ้นในช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลง (transition period) • ทารกหายใจเองได้ไม่เพียงพอที่จะทำให้ของเหลวออกไปจากถุงลม • การเสียเลือดปริมาณมาก หรือการบีบตัวของหัวใจที่ผิดปกติ หรือช้าจากภาวะขาดออกซิเจนและขาดเลือด  systemic hypotension • ถุงลมไม่สามารถขยายตัวได้ หรือภาวะขาดออกซิเจน  alveolar constriction PPHN

  7. ทารกจะมีการตอบสนองอย่างไรถ้าเกิดความผิดปกติที่ขัดขวางการเปลี่ยนแปลงในช่วง transition • เลือดไปเลี้ยงที่สมองและหัวใจเพิ่มขึ้น • ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ (muscle tone ) ลดลง เนื่องจากการขาดออกซิเจนของสมอง กล้ามเนื้อ และอวัยวะอื่น ๆ • Respiratory depression • Bradcardia • Hypotension • Tachypnea • Cyanosis

  8. Irregular gasping Rapid breathing

  9. 2006

  10. 2010

  11. Initial Steps in Resuscitation • ทราบได้อย่างไรว่าทารกควรได้รับการช่วยกู้ชีพ • ประเมินด้วยคำถาม 3 ข้อ • อายุครรภ์ครบกำหนดหรือไม่ • หายใจหรือร้องดังหรือไม่ • ความตึงตัวของกล้ามเนื้อดีหรือไม่

  12. Initial Steps in Resuscitation

  13. Initial Steps in Resuscitation • การให้ความอบอุ่นแก่ทารก • Radiant warmer • จัดท่าของศีรษะให้คอแหงนเล็กน้อย (slightly extending) • Sniffing : ช่องคอ กล่องเสียง และหลอดลมอยู่ในแนวตรง

  14. Initial Steps in Resuscitation • เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง :suction เท่าที่จำเป็นโล่ง ขึ้นอยู่กับ • น้ำคร่ำมีขี้เทาปนหรือไม่ • ระดับกำลัง (activity) ของทารก

  15. Initial Steps in Resuscitation Vigorous : การหายใจดี muscle tone ดี HR>100B/m ขี้เทาปนในน้ำคร่ำ ไม่ ใช่ ทารก vigorous ใช่ ไม่ ดูดเสมหะในปากและหลอดลม • ให้การช่วยกู้ชีพเบื้องต้น • ดูดเสมหะในปากและจมูก • เช็ดตัวให้แห้ง กระตุ้น จัดท่าศีรษะใหม่

  16. หากทารกแรกเกิดที่พบขี้เทาในน้ำคร่ำNot vigorous • ต่อ ETT กับ Meconium Aspirator • ดูดเสมหะแล้วถอยท่อออกช้า นับ 1-พัน, 2-พัน, 3-พัน แล้วถอยออก • ทำซ้ำจนกว่าจะเห็นน้ำคร่ำที่มี ขี้เทาปนมีจำนวนน้อยลง หรือจนกระทั่งอัตราการเต้นของ หัวใจของทารกลดลง

  17. หากทารกแรกเกิดที่ไม่พบขี้เทาในน้ำคร่ำหากทารกแรกเกิดที่ไม่พบขี้เทาในน้ำคร่ำ • วิธีการทำให้ทางเดินหายใจโล่งในทารกแรกเกิดที่ไม่มีขี้เทาปนในน้ำคร่ำ ปากแล้วจมูก หรือ M มาก่อน N

  18. Initial Steps in Resuscitation • เช็ดตัวให้แห้ง • กระตุ้นให้หายใจ • การตบหรือดีดที่ฝ่าเท้า • การลูบเบา ๆ ที่บริเวณหลัง ลำตัว หรือแขน ขา

  19. ประเมินอะไรหลัง initial step หลัง initial step 30 วินาทีจะทำการประเมิน • การหายใจ: หายใจเฮือกหรือไม่หายใจ • อัตราการเต้นของหัวใจ: < 100 ครั้ง/ นาที ( 6 วินาทีคูณ10) ประเมินการหายใจ อัตราการเต้นของหัวใจ สีผิว เดิม NCPR 2006

  20. การประเมินภาวะเขียวและการใช้ oximeter • ภาวะ central cyanosis แสดงถึงการมี ออกซิเจนในเลือดต่ำซึ่งต้องการการช่วยเหลือ • เครื่อง oximeterควรนำมาใช้ยืนยันภาวะเขียวของทารกแรกเกิด • นิยมจับที่มือขวา ( preduct) จะมีค่าเช่นเดียวกับเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะสำคัญ • ให้วัดระดับออกซิเจนทุกครั้ง ที่คาดว่าจะต้องทำการกู้ชีพ ให้ positive-pressure ventilation, มี cyanosis เป็นเวลานาน หรือเมื่อมีการให้ออกซิเจน

  21. ค่าออกซิเจนในเลือดที่เปลี่ยนแปลงตามช่วงเวลาหลังเกิดค่าออกซิเจนในเลือดที่เปลี่ยนแปลงตามช่วงเวลาหลังเกิด

  22. การให้ออกซิเจน •  เริ่มการกู้ชีพโดยใช้ความเข้มข้นที่ room air ก่อน • หากทารกมีภาวะหัวใจเต้นช้า (น้อยกว่า 60 ครั้งต่อนาที) ภายหลังการกู้ชีพด้วยออกซิเจนที่ระดับต่ำนานมากกว่า 90 วินาที จึงค่อยปรับความเข้มข้นเป็น 100% จนกว่าอัตราการเต้นของหัวใจจะกลับเป็นปกติ

  23. การให้ออกซิเจน สายต่อออกซิเจน ใส่หน้ากากออกซิเจน Flow-inflating bag T-piece resuscitation

  24. การช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก !การช่วยหายใจเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดและเป็นขั้นตอนที่มีความสำคัญมากที่สุดในการช่วยกู้ชีพทารกแรกเกิด

  25. ข้อบ่งชี้การช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกข้อบ่งชี้การช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก • ทารกหยุดหายใจหรือหายใจเฮือก • อัตราการเต้นของหัวใจยังคงน้อยกว่า 100 ครั้งต่อนาที • ตัวเขียวและ oxygen saturation ต่ำขณะได้ 100% oxygen

  26. อุปกรณ์แบบต่าง ๆ ที่ใช้หายใจในทารกแรกเกิด • Self-inflating bag : คลายตัวได้เองภายหลังการถูกบีบ และสามารถดึงก๊าซ เข้าสู่ bag ได้เอง • ความดันสูงสุดขณะหายใจเข้า (PIP) ขึ้นกับแรกในการบีบ bag

  27. อุปกรณ์แบบต่าง ๆ ที่ใช้หายใจในทารกแรกเกิด • Flow-inflating bag (anesthesia bag) • สามารถให้ออกซิเจนความเข้มข้นต่างๆกันได้ ขึ้นกับแหล่งจ่ายก๊าซ • สามารถให้ออกซิเจนได้โดยตรงถึงแม้ไม่บีบ • การปรับเปลี่ยน PIP ควบคุมโดยอัตราการไหลของก๊าซที่เข้าสู่ bag • ข้อเสีย : ต้องแนบหน้ากากให้สนิท จึงจะบีบ bag ได้ ไม่มี pop-off valve

  28. อุปกรณ์แบบต่าง ๆ ที่ใช้หายใจในทารกแรกเกิด • T-piece resuscitator : ควบคุมโดยอัตราการไหลของก๊าซ (flow control) และมีการจำกัดความดัน (pressure limited) สามารถปรับ PIP และ PEEP ได้ตามต้องการ

  29. ลักษณะสำคัญของอุปกรณ์ที่ใช้ในการช่วยหายใจลักษณะสำคัญของอุปกรณ์ที่ใช้ในการช่วยหายใจ • ขนาดของหน้ากากที่เหมาะสม • ควรมีหลายขนาด • ครอบตั้งแต่คาง ปากและจมูก • ไม่กดตา • แนบสนิทกับหน้าของทารก

  30. การเตรียมอุปกรณ์ให้พร้อมเพื่อทำการช่วยกู้ชีพทารกแรกเกิดการเตรียมอุปกรณ์ให้พร้อมเพื่อทำการช่วยกู้ชีพทารกแรกเกิด • การเตรียมอุปกรณ์ • ต่ออุปกรณ์ที่ใช้เข้าด้วยกัน และต่อกับแหล่งจ่ายก๊าซออกซิเจน • เลือกขนาดของหน้ากาก • ตรวจสอบขอบของหน้ากากว่าสามารถใช้งานได้ดี ! ควรทำความคุ้นเคยกับอุปกรณ์แต่ละชนิดที่ท่านใช้ และเรียนรู้การตรวจสอบว่าอุปกรณ์นั้นสามารถใช้งานได้จริง

  31. การช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก • ตำแหน่งการยืนที่เหมาะสมขณะทำการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก

  32. การช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก • ปริมาณลมที่ทารกต้องการเทียบกับขนาดของ bag • มักไม่เกิน 30 ซม.น้ำ • Breath size (tidal volume) of an infant=5-8 ml/kg 750 ml bag 240 ml bag เมื่อเทียบกับขนาดของ bag : 1ใน 10 ขนาด 240 ml; 1ใน 30ของbag ขนาด750 มล

  33. อัตราการช่วยหายใจระหว่างการช่วยกู้ชีพทารกอัตราการช่วยหายใจระหว่างการช่วยกู้ชีพทารก • 40-60 ครั้ง/นาที • วิธีนับ บีบ..........สอง.............สาม.............บีบ...........สอง............สาม..........บีบ (ปล่อย) (ปล่อย)

  34. ทราบได้อย่างไรว่าทารกดีขึ้นและสามารถหยุดการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกทราบได้อย่างไรว่าทารกดีขึ้นและสามารถหยุดการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก • อาการที่บ่งชี้ว่าทารกดีขึ้น • อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้น (>100 ครั้งต่อนาที) • ทารกมีผิวสีชมพูขึ้น • หายใจได้เอง • ความตึงตัวของกล้ามเนื้อดี

  35. หากทารกอาการไม่ดีขึ้นและทรวงอกของทารกไม่เคลื่อนขึ้นระหว่างการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกหากทารกอาการไม่ดีขึ้นและทรวงอกของทารกไม่เคลื่อนขึ้นระหว่างการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก

  36. หากทารกอาการไม่ดีขึ้นและทรวงอกของทารกไม่เคลื่อนขึ้นระหว่างการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกหากทารกอาการไม่ดีขึ้นและทรวงอกของทารกไม่เคลื่อนขึ้นระหว่างการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก อย่าลืม M-R S-O P-A

  37. ก๊าซที่เข้าสู่กระเพาะอาหารจะรบกวนการหายใจของทารกก๊าซที่เข้าสู่กระเพาะอาหารจะรบกวนการหายใจของทารก • กระเพาะขยายตัว ปอดขยายตัวได้ไม่เต็มที่ • ก๊าซในกระเพาะอาหารที่มากเกินไป  มีการย้อนกลับของสารคัดหลั่งในกระเพาะอาหารขึ้นมา aspiration • ทารกที่ได้รับการ PPV เป็นเวลาหลายนาที ควรได้รับการใส่สายสวนกระเพาะอาหาร • อุปกรณ์ : สายสวนกระเพาะอาหารขนาด 8 F • ตำแหน่ง : ดั้งจมูกถึงติ่งหู และจากติ่งหูถึงครึ่งทางระหว่างปลายกระดูกหน้าอก (xyphoid process ) และสะดือของทารก

  38. Chest compressions

  39. ข้อบ่งชี้ของการเริ่มการกดหน้าอกข้อบ่งชี้ของการเริ่มการกดหน้าอก • อัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 60 ครั้ง/นาที ทั้ง ๆ ที่ทารกได้รับการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกอย่างเพียงพอแล้วเป็นเวลา 30 วินาที • การกดหน้าอก ประกอบด้วยการกด บน sternum อย่างเป็นจังหวะ • หัวใจไปชนกับกระดูกไขสันหลัง • ความดันในช่องอกเพิ่มขึ้น • เกิดการไหลเวียนเลือดไปยังอวัยวะสำคัญ

  40. Chest compressions

  41. ตำแหน่งการวางมือที่เหมาะสมเพื่อทำการกดหน้าอกตำแหน่งการวางมือที่เหมาะสมเพื่อทำการกดหน้าอก • มี 2 เทคนิคในการทำการกดหน้าอก เทคนิคการใช้นิ้วหัวแม่มือ เทคนิคการใช้สองนิ้วมือ (2 thumb technique) (2-finger technique) ดีกว่า: เมื่อยล้าน้อยกว่า, ความคุมความลึกได้ดีกว่า , ทำให้เกิดความดันเลือดและทำให้ความดันของเลือดหัวใจ (coronary artery) ดีกว่า

  42. Chest compressions • ตำแหน่งการวางนิ้วที่ถูกต้อง : 1ใน 3 ด้านล่าง ต่ำแหน่งระหว่าง xyphoidและราวนม xyphoid

  43. Chest compressions • ความแรงที่ใช้ในการกดกระดูกหน้าอก • ความลึกของการกดหน้าอก 1 ใน 3 ของความกว้างทรวงอกในแนวหน้าหลัง ( anterior-posterior diameter of chest) • ระหว่างการกดหน้าอก นิ้วหัวแม่มือหรือนิ้วมือของท่านควรจะอยู่บนหน้าอกตลอดเวลา One third

  44. Chest compressions • อัตราการกดหน้าอก และกดหน้าอกประสานงานกับการช่วยหายใจ • 3:1 CCT: PPV = 90:30 ใน 1 นาที • หนึ่ง และ สอง และ สาม และ บีบ • ทำ 45-60 วินาที • เมื่อใดที่ควรหยุดกดหายใจ • อัตราการเต้นของหัวใจกลับมา คลำชีพจรจากสะดือได้ชัด • หยุดกดหน้าอก แต่ยังคงช่วยหายใจต่อด้วยอัตรา 40-60 ครั้ง/นาที • ถ้า HR>100 ครั้ง/นาทีและทารกหายใจได้เอง เลิกการช่วยหายใจอย่างช้า ๆ

  45. ควรทำอย่างไรถ้าทารกอาการไม่ดีขึ้นควรทำอย่างไรถ้าทารกอาการไม่ดีขึ้น • ต้องตั้งคำถามกับตัวเองเสมอ • หน้าอกเคลื่อนขึ้นเพียงพอหรือไม่(ถ้าใส่ท่อช่วยหายใจแล้วตำแหน่งของท่อช่วยหายใจอยู่ในตำแหน่งถูกต้องหรือไม่) • ได้ออกซิเจนเสริมหรือไม่ • ความลึกในการกดหน้าอก • การกดหน้าอกกับการช่วยหายใจสัมพันธ์กันดีหรือไม่

  46. การใส่ท่อช่วยหายใจ • ข้อบ่งชี้ • Nonvigorousmeconium stained newborn • If bag-mask ventilation is ineffective or prolonged • When chest compressions are performed • For special resuscitation circumstances, such as congenital diaphragmatic hernia or extremely LBW

  47. การใส่ท่อช่วยหายใจ • ควรเลือกใช่ท่อช่วยหายใจแบบใด ขนาดของท่อช่วยหายใจ จะอยู่บริเวณเส้นเสียง

  48. การใส่ท่อช่วยหายใจ • การเตรียม laryngoscope • เบอร์ 0 : preterm • เบอร์ 1 : term • ตรวจสอบความสว่างของหลอดไฟ • อุปกรณ์ดูดเสมหะ: เครื่องดูดเสมหะที่ความดัน 100 มม.ปรอท

  49. การใส่ท่อช่วยหายใจ • การจัดท่าของทารกในการใส่ท่อช่วยหายใจ • Sniffing • การใส่ท่อช่วยหายใจ:ควรใส่ท่อช่วยหายใจด้วยความรวดเร็วภายใน 30วินาที

More Related